โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จินตนา ภักดีชายแดนและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จินตนา ภักดีชายแดนและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

จินตนา ภักดีชายแดน vs. ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

นตนา ภักดีชายแดน (นามสกุลเดิม ปิ่นเฉลียว) เป็นชื่อจริงของนักเขียนนวนิยายแนวระทึกขวัญที่รู้จักกันดีในนาม จินตวีร์ วิวัธน์ และยังได้ชื่อว่าเป็นกวีหญิงฝีปากกล้าคนหนึ่งของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีชื่อเสียงเลื่องลือไกลออกไปนอกรั้วอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็นกลอนวิพากษ์สังคม การเมือง กลอนหวาน หรือแม้แต่กลอนหักมุม ส่วนบทประพันธ์นวนิยายของจินตนา นอกจากจะเป็นแนวสยองขวัญที่หยิบยกเอาเรื่องผีสาง ความเร้นลับ หรือความเชื่อโบราณ มาผูกเป็นเรื่องราวแล้ว ยังมีอีกหลายเรื่องที่ถือเป็นนวนิยายอันโดดเด่นและฉีกแนวออกไปจากนวนิยายของนักเขียนคนอื่น ๆ ในสมัยเดียวกันเป็นอย่างมาก จากการนำเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ ปรจิตวิทยา หรือแม้แต่พฤกษศาสตร์ เข้ามาผนวกกับความเชื่อและความสยองขวัญอันชวนระทึก จนเกิดเป็นนวนิยายแนวไซ-ไฟระทึกขวัญที่มีความเหนือล้ำกาลเวลา ชนิดไม่ว่าจะผ่านไปกี่สิบปี ความทันสมัยของตัวเนื้อหาในนวนิยายก็ล้วนยังชวนให้น่าทึ่ง ระคนไปกับความระทึกอันเป็นอารมณ์หลักของเรื่อง ซึ่งมีจุดเชื่อมโยงกันได้อย่างลงตัว เช่น กึ่งหล้าบาดาล ศีรษะมาร มนุษย์สังเคราะห์ มฤตยูเขียว เป็นต้น แม้กระทั่งงานเขียนแนวร่วมสมัยที่นำเอาเรื่องราวต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น อารยธรรมโบราณ เทพปกรณัม อสุรกาย ภูตผี มาผนวกเข้ากับความสยองขวัญจนเกิดเป็นจินตนิยายระทึกขวัญที่ผสมกลมกลืนกับความเป็นไทยได้อย่างกลมกล่อม อาทิ อมฤตาลัย หรือสาบนรสิงห์ เป็นต้น ก็ได้ปรากฏภายใต้การจรดอักษรของจินตนามาแล้วเช่นกัน ที่สำคัญ บทประพันธ์หลายเรื่องภายใต้นามปากกาต่าง ๆ ของจินตนา ยังได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์มาแล้วแทบทั้งสิ้น อาทิ ศีรษะมาร สาบนรสิงห์ คฤหาสน์ดำ ขุมทรัพย์โสมประภา อมฤตาลัย สุสานภูเตศวร มฤตยูเขียว วังไวกูณฑ์ อาศรมสาง บ้านศิลาทราย มายาลวง มายาพิศวาส นอกจากนี้ก็ยังมี บุปผาเพลิง ที่ได้รับการสร้างเป็นละครวิทยุอีกด้วย จากการประสบความสำเร็จดังกล่าวข้างต้น จึงถือเป็นเครื่องยืนยันความยอดเยี่ยมในผลงานของจินตนาได้เป็นอย่างดี ทว่าจะมีสักกี่คนที่รู้ว่าผลงานชวนระทึกขวัญทุกชิ้นดังกล่าวนั้น จะเกิดจากจรดอักษรขึ้นโดยนักเขียนหญิงซึ่งเป็นคนกลัวผีมาก มากเสียจนถูกขนานนามว่าเป็น ราชินีนิยายสยองขวัญที่กลัวผีมากที. ันตำรวจเอก (พิเศษ) ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว (18 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - ?) นักเขียนชาวไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จินตนา ภักดีชายแดนและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

จินตนา ภักดีชายแดนและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วาทิน ปิ่นเฉลียวคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วาทิน ปิ่นเฉลียว

วาทิน ปิ่นเฉลียว หรือ ต่วย บรรณาธิการบริหารของ ต่วย’ตูน นิตยสารพ็อกเกตบุ๊กรายปักษ์ที่วางจำหน่ายตั้งแต่ พ.ศ. 2514 เป็นผู้บัญญัติคำว่า "แฟนานุแฟน" วาทิน ปิ่นเฉลียว เกิดเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนกลางของนายวิวัธน์ และนางพวง ปิ่นเฉลียว มี่พี่สาวชื่อ มาลัย มีพี่ชายคือ พันตำรวจเอก(พิเศษ)ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว (ทิฆัมพร หยาดเมฆา) มีน้องสาวชื่อ จินตนา ปิ่นเฉลียว (จินตวีร์ วิวัธน์) จบการศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยทำงานเป็นสถาปนิกควบคุมงานก่อสร้างเขื่อนยันฮี เริ่มเข้าสู่วงการหนังสือ ตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นนิสิตชั้นปีที่ 1 ด้วยการวาดรูปการ์ตูนในหนังสือฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ หลังจากนั้นไปเขียนภาพประกอบเรื่องให้ "นิตยสารสยามสมัย" และวาดการ์ตูนให้กับ "นิตยสารชาวกรุง" วาทินมีบุตรสองคนคือ ดาว ปิ่นเฉลียว และดุลย์ ปิ่นเฉลียว.

จินตนา ภักดีชายแดนและวาทิน ปิ่นเฉลียว · ปกรณ์ ปิ่นเฉลียวและวาทิน ปิ่นเฉลียว · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจินตนา ภักดีชายแดน · คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จินตนา ภักดีชายแดนและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

จินตนา ภักดีชายแดน มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 5.71% = 2 / (19 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จินตนา ภักดีชายแดนและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »