โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตไร้สำนึกและพฤติกรรมนิยม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จิตไร้สำนึกและพฤติกรรมนิยม

จิตไร้สำนึก vs. พฤติกรรมนิยม

จิตไร้สำนึก (unconscious mind) ประกอบด้วยกระบวนการในจิตซึ่งเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติและไม่สามารถพินิจภายในได้ มีกระบวนการคิด ความจำ อารมณ์และแรงจูงใจ แม้กระบวนการเหล่านี้มีอยู่ใต้ผิวของความตระหนักพิชาน (conscious) แต่มีทฤษฎีว่า จิตไร้สำนึกส่งอิทธิพลต่อพฤติกรรม คำนี้บัญญัติโดย ฟรีดริช เชลลิง นักปรัชญาจินตนิยมชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 และภายหลังเซมาเอล เทย์เลอร์ โคละริดจ์ กวีและผู้เขียนงานประพันธ์ นำเข้ามาในภาษาอังกฤษ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ นักประสาทวิทยาและนักจิตวิเคราะห์ชาวออสเตรียพัฒนาและเผยแพร่มโนทัศน์ดังกล่าว หลักฐานเชิงประจักษ์แนะว่า ปรากฏการณ์ไร้สำนึกมีความรู้สึกที่ถูกกดเก็บ ทักษะอัตโนมัติ สัญชานใต้ระดับ (subliminal perception) ความคิด นิสัยและปฏิกิริยาอัตโนมัติ และอาจยังมีปม (complex) ความกลัวและความปรารถนาที่ซ่อนอยู่ ในทฤษฎีจิตวิเคราะห์ เข้าใจว่ากระบวนการไร้สำนึกแสดงออกในฝันในรูปสัญลักษณ์ เช่นเดียวกับการพลั้งปาก (slips of the tongue) และมุกตลก ฉะนั้น จึงมองได้ว่าจิตไร้สำนึกเป็นบ่อเกิดของฝันและความคิดอัตโนมัติ (ที่ปรากฏโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน) คลังความจำที่ถูกลืม (ซึ่งยังอาจเข้าถึงพิชานในภายหลัง) และที่ตั้งของความรู้โดยปริยาย (implicit knowledge, หมายถึง สิ่งที่สิ่งที่เรียนรู้มาอย่างดีจนทำได้โดยไม่ต้องคิด) หมวดหมู่:จิตไร้สำนึก หมวดหมู่:จิตวิทยาวิเคราะห์ หมวดหมู่:ระบบประสาทส่วนกลาง หมวดหมู่:กระบวนการทางจิต หมวดหมู่:จิตวิทยาแบบฟรอยด์. ติกรรมนิยม (behaviorism/behaviourism) เป็นแนวทางสู่จิตวิทยาซึ่งรวมปรัชญา วิธีวิทยาและทฤษฎีบางส่วน กำเนิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นปฏิกิริยาต่อจิตวิทยา "มโนนิยม" ซึ่งมักลำบากในการพยากรณ์ที่สามารถทดสอบได้โดยใช้วิธีทดลองอย่างเคร่งครัด หลักพื้นฐานของพฤติกรรมนิยมดังที่แสดงในงานเขียนของจอห์น บี. วัตสัน, บี. เอฟ. สกินเนอร์ และอื่น ๆ คือ จิตวิทยาควรเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคคลและสัตว์ที่สังเกตได้ มิใช่เหตุการณ์สังเกตไม่ได้ที่เกิดในจิต สำนักคิดพฤติกรรมนิยมถือว่าพฤติกรรมดังกล่าวสามารถอธิบายทางวิทยาศาสตร์ได้โดยไม่ต้องอาศัยทั้งเหตุการณ์จิตวิทยาภายในหรือการตีความสมมุติฐาน เช่น ความคิดความเชื่อ นับแต่จิตวิทยายุคต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 สำนักคิดพฤติกรรมนิยมมีลักษณะควบร่วมกับขบวนการจิตวิเคราะห์และเกสตัลท์ในจิตวิทยาจนคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่ยังต่างจากปรัชญาจิตของนักจิตวิทยาเกสตัลท์ในทางสำคัญ อิทธิพลหลักของสำนักคิดนี้คือ อีวาน ปัฟลอฟซึ่งสำรวจการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (classical conditioning) แม้เขาไม่ได้เห็นด้วยกับพฤติกรรมนิยมหรือนักพฤติกรรมนิยม เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดก์, จอห์น บี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตไร้สำนึกและพฤติกรรมนิยม

จิตไร้สำนึกและพฤติกรรมนิยม มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จิตวิเคราะห์

จิตวิเคราะห์

ตวิเคราะห์ (psychoanalysis) เป็นชุดทฤษฎีและเทคนิคจิตวิทยาและจิตบำบัดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเดิมแพทย์ชาวออสเตรีย ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ทำให้แพร่หลายและบางส่วนกำเนิดจากงานด้านการรักษาของโยเซฟ บรอแยร์ (Josef Breuer) และอื่น ๆ นับแต่นั้น จิตวิเคราะห์ได้ขยายและมีการทบทวน ปฏิรูปและพัฒนาในทิศทางต่าง ๆ เดิมโดยผู้ร่วมงานและศิษย์ของฟรอยด์ เช่น อัลเฟรด อัดแลร์และคาร์ล กุสทัฟ ยุงผู้พัฒนาความคิดของตนเองเป็นเอกเทศจากฟรอยด์ นักจิตวิทยาฟรอยด์ใหม่ (neo-Freudian) สมัยหลังมีเอริช ฟรอมม์, คาเริน ฮอร์ไน, แฮร์รี สแทก ซัลลิแวนและฌัค ลาคา (Jacques Lacan) หลักพื้นฐานของจิตวิเคราะห์มีดังนี้.

จิตวิเคราะห์และจิตไร้สำนึก · จิตวิเคราะห์และพฤติกรรมนิยม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จิตไร้สำนึกและพฤติกรรมนิยม

จิตไร้สำนึก มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ พฤติกรรมนิยม มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 1 / (5 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตไร้สำนึกและพฤติกรรมนิยม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »