เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จิตเวชศาสตร์และชักแบบดิสโซสิเอทีฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จิตเวชศาสตร์และชักแบบดิสโซสิเอทีฟ

จิตเวชศาสตร์ vs. ชักแบบดิสโซสิเอทีฟ

ตเวชศาสตร์ มาจากคำว่า จิต ที่แปลว่าจิตใจ รวมกับ เวชศาสตร์ ที่แปลว่า ศาสตร์ด้านการแพทย์ เมื่อรวมกันจึงหมายถึง การศึกษาทางด้านการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับอาการบกพร่องทางจิต ต่างกับ คำว่า จิตวิทยา ตรงที่ว่า จิต ที่แปลว่าจิตใจ รวมกับคำว่า วิทยา ที่มาจากวิทยาศาสตร์แทน ดังนั้น จิตวิทยาจึงเน้นเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตใจที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับทางด้านการแพทย์ อาการบกพร่องทางจิต มีความหมายตามแนวความคิดที่มีอยู่ในขณะนี้ว่า เป็นอาการที่เกิดจากความบกพร่องจากการทำงานของระบบประสาทของสมองมนุษย์ โดยมีสาเหตุมาจากกระบวนการพัฒนาสมองที่ถูกกำหนดจากยึน และสภาพแวดล้อม. การชักแบบดิสโซซิเอทีฟ (dissociative convulsions) หรืออาการชักเหตุจิตใจที่ไม่ใช่โรคลมชัก (psychogenic non-epileptic seizures, PNES) หรือโรคอาการกำเริบที่ไม่ใช่ชัก (non-epileptic attack disorders, NEAD) คืออาการที่ดูคล้ายอาการชัก แต่ไม่มีการปล่อยกระแสไฟฟ้าผิดปกติในสมองอย่างที่เกิดในอาการชักจากโรคกลุ่มลมชัก ดังนั้นจึงเป็นโรคทางจิตใจ อาจถือเป็นในกลุ่มเดียวกันกับโรคคอนเวอร์ชัน ประมาณกันว่า 20% ของผู้ป่วยอาการชักที่ได้พบแพทย์โรคชักโดยตรง เป็นอาการชักจาก PNES หมวดหมู่:ชนิดของอาการชัก หมวดหมู่:จิตวิทยาภาวะผิดปกติ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตเวชศาสตร์และชักแบบดิสโซสิเอทีฟ

จิตเวชศาสตร์และชักแบบดิสโซสิเอทีฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จิตเวชศาสตร์และชักแบบดิสโซสิเอทีฟ

จิตเวชศาสตร์ มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ ชักแบบดิสโซสิเอทีฟ มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (12 + 2)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตเวชศาสตร์และชักแบบดิสโซสิเอทีฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: