โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตรกรรมฝาผนังและปาโอโล เวโรเนเซ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จิตรกรรมฝาผนังและปาโอโล เวโรเนเซ

จิตรกรรมฝาผนัง vs. ปาโอโล เวโรเนเซ

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน. ปาโอโล เวโรเนเซ (Paolo Veronese) หรือ ปาโอโล กาลยารี (Paolo Cagliari; ค.ศ. 1528 - 19 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีที่ทำงานอยู่ในเวนิสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานชิ้นสำคัญของเวโรเนเซก็ได้แก่ "งานแต่งงานที่เคนา" และ "งานเลี้ยงที่บ้านของลีวาย" (The Feast in the House of Levi) เวโรเนเซใช้ชื่อ "ปาโอโล กาลยารี" และมารู้จักกันว่า "ปาโอโล เวโรเนเซ" ตามชื่อเมืองเกิดที่เวโรนาในประเทศอิตาลี เวโรเนเซ, ทิเชียน และตินโตเรตโต เป็นจิตรกรคนสำคัญสามคนของเวนิสในปลายสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เวโรเนเซมีชื่อเสียงในการใช้สีและการเขียนตกแต่งแบบลวงตาทั้งในการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานเขียนสำคัญของเวโรเนเซเป็นงานเขียนที่เต็มไปด้วยนาฏกรรมและการใช้สีแบบจริตนิยม (mannerist) เต็มไปด้วยฉากสถาปัตยกรรมและขบวนที่หรูหรา งานเขียนชิ้นใหญ่ของงานเลี้ยงฉลองในคัมภีร์ไบเบิลที่เขียนสำหรับหอฉัน (refectory) ของสำนักสงฆ์ในเวนิสและเวโรนาเป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่ควรจะกล่าวถึง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตรกรรมฝาผนังและปาโอโล เวโรเนเซ

จิตรกรรมฝาผนังและปาโอโล เวโรเนเซ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาประเทศอิตาลี

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

จิตรกรรมฝาผนังและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ปาโอโล เวโรเนเซและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

จิตรกรรมฝาผนังและประเทศอิตาลี · ประเทศอิตาลีและปาโอโล เวโรเนเซ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จิตรกรรมฝาผนังและปาโอโล เวโรเนเซ

จิตรกรรมฝาผนัง มี 58 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปาโอโล เวโรเนเซ มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.70% = 2 / (58 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตรกรรมฝาผนังและปาโอโล เวโรเนเซ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »