โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตรกรชั้นครูและลำดับคุณค่าของศิลปะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จิตรกรชั้นครูและลำดับคุณค่าของศิลปะ

จิตรกรชั้นครู vs. ลำดับคุณค่าของศิลปะ

วีนัสหลับ” (ราว ค.ศ. 1510) โดย จอร์โจเนที่หอจิตรกรชั้นครูแห่งเดรสเดน จิตรกรรมที่เขียน ราว ค.ศ. 1440 ที่ไม่ทราบนามจิตรกรที่ได้รับการระบุว่าเป็นงาน “ไม่ทราบนามครูบา” จิตรกรชั้นครู (Old Master) เป็นคำที่ใช้เรียกภาพเขียนที่เป็นงานเขียนของจิตรกรที่ถือกันว่าเป็นจิตรกรชั้นครู ผู้มีงานเขียนก่อราวปี.. A จิตรกรรมประวัติศาสตร์. คริสเตียน อัลเบร็คท์ ฟอน เบนซอน (Christian Albrecht von Benzon), ''ความตายของคานูทผู้ศักดิ์สิทธิ์'', ค.ศ. 1843 ภาพชีวิตประจำวัน. อาเดรียน ฟาน โอสเตด, ''คนขายปลา'', ค.ศ. 1660-1670, สีน้ำมันบนไม้โอ้ค, 29 × 26.5 ซม., พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งบูดาเพสต์ ภาพเหมือน. คอนราด ครซิซาเนาสกี (Konrad Krzyżanowski), ''ภาพเหมือนของโยเซฟ พิลซูดสกี'', ค.ศ. 1920, พิพิธภัณฑ์กองทัพโปแลนด์, วอร์ซอว์ จิตรกรรมภูมิทัศน์. เทมิสโตเคิลส์ ฟอน เอ็คเค็นเบร็คเคอร์, ''ภูมิทัศน์ของ Laerdalsoren ที่ Sognefjord'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, ค.ศ. 1901 ภาพนิ่ง. ไฮน์ริค อุห์ล (Heinrich Uhl), ''ภาพนิ่งกับกล่องอัญมณี, แว่นดูอุปรากร, ถุงมือ, และช่อดอกไม้'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, 50 x 60 ซม. ลำดับคุณค่าของศิลปะ (hierarchy of genres) เป็นการจัดประเภทของงานศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญทางคุณค่าที่วางไว้อย่างเป็นทางการ ในทางวรรณกรรม มหากาพย์ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานที่มีระดับคุณค่าสูงที่สุดในบรรดานักวิพากษ์วรรณกรรม ตามเหตุผลของซามูเอล จอห์นสัน ที่บรรยายใน ชีวิตของจอห์น มิลตัน ว่า: "ตามความเห็นที่พ้องกันของนักวิพากษ์, งานที่สมควรแก่การสรรเสริญในคุณค่าคืองานของนักเขียนผู้เขียนมหากาพย์, เพราการเขียนมหากาพย์ผู้เขียนต้องรวบรวมพลานุภาพทุกด้านที่แต่ละด้านเพียงพอสำหรับสร้างงานเขียนแต่ละชนิด" การจัดลำดับที่ทราบกันดีที่สุดในงานจิตรกรรมคือมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยสถาบันในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยใหม่ ระดับต่างๆ ที่จัดขึ้นสำหรับประเภทของงานศิลปะต่างๆ ได้รับการสนับสนุนโดยราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมแห่งฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้นำในศิลปะสถาบัน การโต้เถียงที่เกี่ยวกับความงามของจิตรกรรมที่ยังคงเป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงเน้นความสำคัญของอุปมานิทัศน์; การใช้องค์ประกอบในงานจิตรกรรมเช่นเส้น และ สีในการสื่อความหมายที่เป็นหัวใจของภาพ ฉะนั้นอุดมคตินิยมจึงเป็นสิ่งที่ใช้กันในงานศิลปะ โดยที่รูปทรงตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่เห็นโดยทั่วไป ฉะนั้นจึงเป็นรองจากความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของงานศิลปะ ที่มีจุดประสงค์ในการแสวงหาสัจจะโดยการเลียนแบบ "ความงามของธรรมชาติ" แต่นักทฤษฎีที่มีความคิดเห็นแตกต่างออกไปมีความเชื่อมั่นว่าการเน้นการใช้อุปมานิทัศน์เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่บนพื้นฐานที่ไม่ถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ และกวีนิพนธ์ที่มาจากบทเขียนของโฮราซ (Horace) "ut pictura poesis" ("ในภาพเขียนคือกวีนิพนธ์") การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะเริ่มขึ้นในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จิตรกรชั้นครูและลำดับคุณค่าของศิลปะ

จิตรกรชั้นครูและลำดับคุณค่าของศิลปะ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): โจชัว เรย์โนลส์

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

จิตรกรชั้นครูและโจชัว เรย์โนลส์ · ลำดับคุณค่าของศิลปะและโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จิตรกรชั้นครูและลำดับคุณค่าของศิลปะ

จิตรกรชั้นครู มี 44 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลำดับคุณค่าของศิลปะ มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.45% = 1 / (44 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จิตรกรชั้นครูและลำดับคุณค่าของศิลปะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »