โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดอานซางและแม่น้ำบาสัก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดอานซางและแม่น้ำบาสัก

จังหวัดอานซาง vs. แม่น้ำบาสัก

อานซาง (An Giang) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ในทางตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับประเทศกัมพู. ภาพมุมกว้างของแม่น้ำบาสักใกล้เมืองเกิ่นเทอ สะพานเกิ่นเทอ แม่น้ำบาสัก (Bassac River; ទន្លេបាសាក់) เป็นแม่น้ำที่ไหลออกจากโตนเลสาบและแม่น้ำโขง แม่น้ำเริ่มต้นที่กรุงพนมเปญและไหลลงใต้ผ่านแนวชายแดนเข้าสู่ประเทศเวียดนามใกล้เมืองเจิวด๊ก (โชฎก) ในเวียดนามเรียก แม่น้ำเหิ่ว (Sông Hậu) แม่น้ำบาสักเป็นเส้นทางการติดต่อที่สำคัญระหว่างเวียดนามกับกัมพูชา สะพานข้ามแม่น้ำบาสักมีสองแห่งคือสะพานมุนีวงศ์ที่พนมเปญ กัมพูชา และสะพานเกิ่นเทอที่เมืองเกิ่นเทอ ประเทศเวียดนาม หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศกัมพูชา หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศเวียดนาม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดอานซางและแม่น้ำบาสัก

จังหวัดอานซางและแม่น้ำบาสัก มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ประเทศเวียดนามแม่น้ำโขงเกิ่นเทอเจิวด๊ก

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

จังหวัดอานซางและประเทศเวียดนาม · ประเทศเวียดนามและแม่น้ำบาสัก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

จังหวัดอานซางและแม่น้ำโขง · แม่น้ำบาสักและแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

เกิ่นเทอ

กิ่นเทอ (Cần Thơ) เป็นเมืองใหญ่อันดับสี่ของประเทศเวียดนามและเมืองใหญ่ที่สุดในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง Emmons, Ron,, (2012), p. 341.

จังหวัดอานซางและเกิ่นเทอ · เกิ่นเทอและแม่น้ำบาสัก · ดูเพิ่มเติม »

เจิวด๊ก

วด๊ก หรือที่เอกสารเก่าของไทยเรียกว่า โชฎก (Châu Đốc) เป็นนครประจำจังหวัดแห่งหนึ่งในจังหวัดอานซาง ติดชายแดนประเทศกัมพูชา ในภูมิภาคดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงของประเทศเวียดนาม ณ ปี..

จังหวัดอานซางและเจิวด๊ก · เจิวด๊กและแม่น้ำบาสัก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดอานซางและแม่น้ำบาสัก

จังหวัดอานซาง มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ แม่น้ำบาสัก มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 20.00% = 4 / (14 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดอานซางและแม่น้ำบาสัก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »