เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

จังหวัดสุรินทร์ vs. พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24. ระธรรมโสภณ หรือ หลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร (30 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวัดสุทธจินดา,เจ้าสำนักเรียนวัดสุทธจินดา, ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทธจินดา, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ดูแลคณะสงฆ์ 6 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำภูและ บึงกาฬ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระราชาคณะชั้นธรรมพระครูสัญญาบัตรกรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยสมณศักดิ์อำเภอรัตนบุรีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดอุบลราชธานีธรรมยุติกนิกายเจ้าอาวาสเจ้าคณะภาคเจ้าคณะจังหวัด

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

จังหวัดสุรินทร์และพระราชาคณะชั้นธรรม · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสัญญาบัตร

ในปัจจุบันการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระครูสัญญาบัตรจะทรงมอบหมายให้สมเด็จพระสังฆราชหรือเจ้าคณะใหญ่ในหนนั้นๆ เป็นผู้แทนพระองค์มอบตำแหน่งแทน (พัดพุดตาน) พัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตรจัดเป็นสมณศักดิ์สัญญาบัตรชั้นแรก เป็นพระครูมีราชทินนาม ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัยเรียกว่า"ปู่ครู" ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ได้เปลี่ยนคำนำหน้าจากปู่ครูเป็นพระครู และโปรดให้มีราชทินนามสืบมาจนถึงปัจจุบัน พระครูสัญญาบัตรเป็นชื่อประเภทสมณศักดิ์ เครื่องหมายสมณศักดิ์ใช้คำว่าพระครูนำหน้าราชทินนาม แต่ในสัญญาบัตรมิได้กำหนดว่าเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นใดหรือตำแหน่งใด ก็จะมีพัดยศเป็นเครื่องแสดงชั้นหรือตำแหน่งนั้นๆ เมื่อได้เลื่อนตำแหน่ง จะไม่เปลี่ยนสัญญาบัตร คงเปลี่ยนเฉพาะพัดยศ และมีประกาศมหาเถรสมาคมแสดงความเป็นพระครูสัญญาบัตรตำแหน่งใดและชั้นใด ในปัจจุบันผู้ที่จะได้รับพระราชทานตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรต้องเป็นพระสังฆาธิการเท่านั้น เมื่อจะทรงแต่งตั้งครั้งแรกจัดชั้นและตำแหน่งให้เหมาะสมในการปกครอง หรือเหมาะสมกับวิทยฐานะ พระครูสัญญาบัตรจัดโดยชั้นมี 4 ชั้น คือ.

จังหวัดสุรินทร์และพระครูสัญญาบัตร · พระครูสัญญาบัตรและพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและจังหวัดสุรินทร์ · กรุงเทพมหานครและพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

จังหวัดสุรินทร์และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

จังหวัดสุรินทร์และสมณศักดิ์ · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรัตนบุรี

รัตนบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ มีเจ้าเมืองคนแรกคือ หลวงศรีนครเตาท้าวเธอ (เชียงสีหรือตากะอาม)ซึ่งเป็นชาวกูยและเมืองรัตนบุรียังมีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 200 ปี อำเภอรัตนบุรี ถือว่าเป็นอำเภอเดียวในจังหวัดสุรินทร์ ที่ประชากรส่วนมากพูดภาษาลาว มากกว่าภาษาเขมรหรือส่วย ซึ่งชาติพันธุ์ลาวได้อพยพเข้ามาอยู่ในแถบเมืองรัตนบุรีเมื่อราวสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่3.

จังหวัดสุรินทร์และอำเภอรัตนบุรี · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และอำเภอรัตนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดสุรินทร์ · จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดอุบลราชธานี · จังหวัดอุบลราชธานีและพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

จังหวัดสุรินทร์และธรรมยุติกนิกาย · ธรรมยุติกนิกายและพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

จังหวัดสุรินทร์และเจ้าอาวาส · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะภาค

้าคณะภาค เป็นพระสังฆาธิการที่ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช โดยผ่านมติการเห็นชอบของมหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าที่การปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม ในเขตจังหวัดของตน เจ้าคณะภาค คือพระสังฆาธิการผู้ปกครองคณะสงฆ์ระดั.

จังหวัดสุรินทร์และเจ้าคณะภาค · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และเจ้าคณะภาค · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะจังหวัด

้าคณะจังหวัด เป็นพระสังฆาธิการที่ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช โดยผ่านมติการเห็นชอบของมหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าที่การปกครองตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม ในเขตจังหวัดของตน.

จังหวัดสุรินทร์และเจ้าคณะจังหวัด · พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)และเจ้าคณะจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

จังหวัดสุรินทร์ มี 368 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) มี 57 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 2.82% = 12 / (368 + 57)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: