เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

จังหวัดสุรินทร์ vs. พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24. ระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ และเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์รูปปัจจุบัน ท่านเป็นพระนักพัฒนาด้านการศึกษาสงเคราะห์รูปสำคัญในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยเป็นผู้ก่อตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมวัดคลองโพธิ์ ในปี พ.ศ. 2513 (ปีที่ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์ และดำรงสมณศักดิ์ที่พระครูปริยัติสาธร) และพัฒนาสำนักเรียนแห่งนี้จนสำนักเรียนวัดคลองโพธิ์กลายเป็นสำนักเรียนบาลีที่มีพระภิกษุสามเณรสอบไล่ได้คิดจากจำนวนผู้เข้าสอบและสอบได้มากที่สุด 1 ใน 5 ของประเทศ และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสำนักเรียนบาลีแห่งที่ 1 ของเขตการปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตร และพัดยศประกอบสมณศักดิ์ ในวันที่ 5 เดือนธันวาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2476พระราชาคณะชั้นธรรมพระครูสัญญาบัตรภิกษุมหานิกายสมณศักดิ์อำเภอรัตนบุรีอำเภอสนมจังหวัดสุรินทร์จังหวัดอุตรดิตถ์

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

จังหวัดสุรินทร์และพ.ศ. 2476 · พ.ศ. 2476และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

จังหวัดสุรินทร์และพระราชาคณะชั้นธรรม · พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสัญญาบัตร

ในปัจจุบันการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นพระครูสัญญาบัตรจะทรงมอบหมายให้สมเด็จพระสังฆราชหรือเจ้าคณะใหญ่ในหนนั้นๆ เป็นผู้แทนพระองค์มอบตำแหน่งแทน (พัดพุดตาน) พัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตรจัดเป็นสมณศักดิ์สัญญาบัตรชั้นแรก เป็นพระครูมีราชทินนาม ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัยเรียกว่า"ปู่ครู" ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 ได้เปลี่ยนคำนำหน้าจากปู่ครูเป็นพระครู และโปรดให้มีราชทินนามสืบมาจนถึงปัจจุบัน พระครูสัญญาบัตรเป็นชื่อประเภทสมณศักดิ์ เครื่องหมายสมณศักดิ์ใช้คำว่าพระครูนำหน้าราชทินนาม แต่ในสัญญาบัตรมิได้กำหนดว่าเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นใดหรือตำแหน่งใด ก็จะมีพัดยศเป็นเครื่องแสดงชั้นหรือตำแหน่งนั้นๆ เมื่อได้เลื่อนตำแหน่ง จะไม่เปลี่ยนสัญญาบัตร คงเปลี่ยนเฉพาะพัดยศ และมีประกาศมหาเถรสมาคมแสดงความเป็นพระครูสัญญาบัตรตำแหน่งใดและชั้นใด ในปัจจุบันผู้ที่จะได้รับพระราชทานตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรต้องเป็นพระสังฆาธิการเท่านั้น เมื่อจะทรงแต่งตั้งครั้งแรกจัดชั้นและตำแหน่งให้เหมาะสมในการปกครอง หรือเหมาะสมกับวิทยฐานะ พระครูสัญญาบัตรจัดโดยชั้นมี 4 ชั้น คือ.

จังหวัดสุรินทร์และพระครูสัญญาบัตร · พระครูสัญญาบัตรและพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุ

กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.

จังหวัดสุรินทร์และภิกษุ · พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)และภิกษุ · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

จังหวัดสุรินทร์และมหานิกาย · พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

สมณศักดิ์

มณศักดิ์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายความว่า ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนด อาจกล่าวได้ว่า สมณศักดิ์ คือบรรดาศักดิ์ หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ภิกษุผู้ประพฤติดี ประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศ เพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อย เพราะการที่พระภิกษุรูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้ว.

จังหวัดสุรินทร์และสมณศักดิ์ · พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)และสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรัตนบุรี

รัตนบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ มีเจ้าเมืองคนแรกคือ หลวงศรีนครเตาท้าวเธอ (เชียงสีหรือตากะอาม)ซึ่งเป็นชาวกูยและเมืองรัตนบุรียังมีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 200 ปี อำเภอรัตนบุรี ถือว่าเป็นอำเภอเดียวในจังหวัดสุรินทร์ ที่ประชากรส่วนมากพูดภาษาลาว มากกว่าภาษาเขมรหรือส่วย ซึ่งชาติพันธุ์ลาวได้อพยพเข้ามาอยู่ในแถบเมืองรัตนบุรีเมื่อราวสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่3.

จังหวัดสุรินทร์และอำเภอรัตนบุรี · พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)และอำเภอรัตนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสนม

นม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ เจ้าเมืองคนแรกคือ พระยาภักดีพัฒยากร (ท้าวอุทา) บุตรพระศรีณครชัย เจ้าเมืองรัตนบุรี มีประวัติศาสตร์และประเพณียาวนานกว่า 1,200 ปี โดยตั้งแต่สมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยมีปราสาทเก่าอยู่ที่วัดธาตุบ้านสนม ปัจจุบันถูกรื้อถอนเพื่อสร้างพระอุโบสถ แต่ก็ยังได้ขึ้นทะเบียนในกรมศิลปากรอยู่ มีชนพื้นเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวอีสาน และ ส่วย โรงเรียนประจำอำเภอคือโรงเรียนสนมวิทยาคาร.

จังหวัดสุรินทร์และอำเภอสนม · พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)และอำเภอสนม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดสุรินทร์ · จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดอุตรดิตถ์ · จังหวัดอุตรดิตถ์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร)

จังหวัดสุรินทร์ มี 368 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 2.54% = 10 / (368 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดสุรินทร์และพระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: