โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดสุพรรณบุรี

ดัชนี จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

211 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชอุ่ม ปัญจพรรค์บัวผัน จันทร์ศรีบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ชุมพล ศิลปอาชาชุดาภา จันทเขตต์บงกช คงมาลัยพ.ศ. 1420พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)พระพรหมมุนีพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)พระอาจารย์ธรรมโชติพระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต)พระเจ้าอู่ทองพระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร)พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทองพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรพิมพ์ ญาดาพุ่มพวง ดวงจันทร์กมลพร สุขมากกรุงเทพมหานครกวินนา สุวรรณประทีปกัญจนา ศิลปอาชาก้าน แก้วสุพรรณมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยามหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิมะเกลือมนัส โอภากุลมนตรี ตราโมทยืนยง โอภากุลยุทธหัตถียุคสัมฤทธิ์ยุคหินใหม่ยุคเหล็กรชยา รักกสิกรณ์รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดสุพรรณบุรีรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี...วรรณกรรมไทยวรรณคดีวราวุธ ศิลปอาชาวรเวช ดานุวงศ์วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหารวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหารวัดพระนอนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารวัดพร้าววัดกลางวัดญาณเวศกวันวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดราชบุรณราชวรวิหารวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารวัดราชนัดดารามวรวิหารวัดสระแก้ววัดสำปะซิววัดสุวรรณารามราชวรวิหารวัดสนามชัยวัดคูหาสวรรค์วรวิหารวัดประยุรวงศาวาสวรวิหารวัดปากน้ำ ภาษีเจริญวัดป่าเลไลยก์วัดป่าเลไลยก์วรวิหารวัดแควัดโบสถ์วัดโพธารามมหาวิหารวัดไผ่โรงวัววัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารวาณิช จรุงกิจอนันต์วนอุทยานพุม่วงศรศิลป์ มณีวรรณ์ศรเพชร ศรสุพรรณศักดา พัทธสีมาศาลหลักเมืองสุพรรณบุรีสมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์สมเกียรติ อ่อนวิมลสมเดช ยนตรกิจสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ทิม อุฑาฒิโม)สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเพทราชาสระศักดิ์สิทธิ์ทั้งสี่สหรัฐ กุลศรีสัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์สังข์ทอง สีใสสายัณห์ สัญญาสุพรรณิการ์สุรชัย สมบัติเจริญสุรพล สมบัติเจริญสุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติสงัด ชลออยู่สงครามสง่า มะยุระสโมสรฟุตบอลสุพรรณบุรีหมู่บ้านหลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณหลวงพ่อเนียมอัมพร แหวนเพชรอัศวิน ขวัญเมืองอารีย์ วงศ์อารยะอาทิวราห์ คงมาลัยอาณาจักรฟูนานอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรอยุธยาอำเภออำเภอบางปลาม้าอำเภอศรีประจันต์อำเภอสองพี่น้องอำเภอสามชุกอำเภอหนองหญ้าไซอำเภออู่ทองอำเภอดอนเจดีย์อำเภอด่านช้างอำเภอเมืองสุพรรณบุรีอำเภอเดิมบางนางบวชอุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพเฉลิมพระเกียรติ บึงฉวากอุทยานแห่งชาติพุเตยอดิสรณ์ พึ่งยาอดิเรก วัฏลีลาองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดจังหวัดชัยนาทจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดอ่างทองจังหวัดนครปฐมจารุวรรณ ปัญโญภาสธีรภัทร์ สุวรรณดีธงชัย เล็กกัมพลถนนมาลัยแมนทวารวดีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340ทนง พิทยะขวัญชัย สาราคำขวัญจิต ศรีประจันต์ขุนช้างขุนแผนข้าวคีรีศักดิ์ บาร์โบสตราประจำจังหวัดของไทยตลาดสามชุกตารางกิโลเมตรตำบลปภัสรา เตชะไพบูลย์ประกอบ ตันติยาพงศ์ประภัตร โพธสุธนประจักษ์ แกล้วกล้าหาญประเทศไทยปรีชา เอี่ยมสุพรรณปลาม้าปาณิชดา แสงสุวรรณปิยะ ตระกูลราษฎร์นภัทร อินทร์ใจเอื้อนิรมล เมธีสุวกุลนที ธีระโรจนพงษ์นครรัฐแม่น้ำท่าจีนแจ่มใส ศิลปอาชาแจ้ง คล้ายสีทองโบราณวัตถุโบสถ์น้อยโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรีไพบูลย์ คุ้มฉายาไกวัล วัฒนไกรไวพจน์ เพชรสุพรรณไสว วงษ์งามเบญจวรรณ วนิชจิวพันธ์เชาวน์ มณีวงษ์เมืองหลวงเรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์เสรี รุ่งสว่างเสือฝ้ายเสือดำเสือใบเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)เทศบาลตำบลเทศบาลตำบลบ้านกร่างเทศบาลตำบลวังยางเทศบาลตำบลสระยายโสมเทศบาลตำบลอู่ทองเทศบาลตำบลจรเข้สามพันเทศบาลตำบลท้าวอู่ทองเทศบาลตำบลโพธิ์พระยาเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองสองพี่น้องเทศบาลเมืองสุพรรณบุรีเทิดศักดิ์ ใจมั่นเขื่อนกระเสียวเขตการปกครองของประเทศไทยเด่นชัย สายสุพรรณเปาวลี พรพิมล ขยายดัชนี (161 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชอุ่ม ปัญจพรรค์

อุ่ม ปัญจพรรค์ หรือ ชอุ่ม แย้มงาม (6 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 28 กันยายน พ.ศ. 2556) นักเขียน นักแต่งเพลงชาวไทย ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและชอุ่ม ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

บัวผัน จันทร์ศรี

ัวผัน จันทร์ศรี (พ.ศ. 2463 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548) ศิลปินเพลงพื้นบ้าน เพลงอีแซว ที่มีชื่อเสียงของตำบลวังน้ำซับ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี บัวผัน จันทร์ศรี เกิดเมื่อปีจอ..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและบัวผัน จันทร์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ

รูปภาพบึงฉวากเฉลิมพระเกียรต.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ (เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย และเป็นหนึ่งในสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ประธานคณะกรรมการปฏิรูปตำรวจ กรรมการและที่ปรึกษาในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พลเอก บุญสร้าง ได้รับรางวัลแห่งหอเกียรติยศ จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพล ศิลปอาชา

มพล ศิลปอาชา (6 มิถุนายน พ.ศ. 2483 — 21 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็น รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายสมัย ตลอดจนตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและชุมพล ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชุดาภา จันทเขตต์

ันทเขตต์ เป็นนักแสดงละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวทีหญิงชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและชุดาภา จันทเขตต์ · ดูเพิ่มเติม »

บงกช คงมาลัย

งกช คงมาลัย (ชื่อเล่น: ตั๊ก) เกิดเมื่อ 15 เมษายน พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไทย มารดาชื่อ ธนาภา ชีพนุรักษ์ เป็นชาวสุพรรณบุรี ศึกษาที่โรงเรียนลาดปลาเค้าพิทยาคม จากนั้นพักการเรียน (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) เข้าวงการบันเทิง เพื่อต้องการหาเงินเลี้ยงครอบครัว มีผลงานแจ้งเกิดด้วยวัยเพียง 15 ปี จากบท "อีสา" ในภาพยนตร์ย้อนยุคเรื่อง "บางระจัน" ต่อมามีผลงานภาพยนตร์เรื่อง "ขุนแผน" แล้วมาพลิกบทบาทเป็น "สมทรง" ในเรื่อง "ไอ้ฟัก" ตามด้วย "อำมหิตพิศวาส" รับบทเป็น แพรว ทางด้านผลงานละคร แสดงละครเรื่อง "ซุ้มสะบันงา", "ลูกแม่" ทางช่อง 7, "นิราศสองภพ" ทางช่อง 3, "เสน่ห์จันทร์" ช่อง 5 และ "รักแผลงฤทธิ์" ช่อง 3 และยังเคยเป็นพิธีกรรายการ "ตอกไข่ใส่จอ" ทางไอทีวี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและบงกช คงมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1420

ทธศักราช 1420 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพ.ศ. 1420 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์

ระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ ตั้งอยู่ที่ ตำบลดอนเจดีย์ อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระคชาธารออกศึก และองค์เจดีย์ยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสร้างเจดีย์ขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะในสงครามยุทธหัตถีที่ทรงมีต่อพระมหาอุปราชาแห่งพม่า เมื่อเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2135 และในปี พ.ศ. 2495 กองทัพบกได้บูรณปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ขึ้นใหม่ โดยสร้างเป็นเจดีย์แบบลังกาทรงกลมใหญ่ สูง 66 เมตร ฐานกว้างด้านละ 36 เมตร ครอบเจดีย์องค์เดิมไว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จไปประกอบพิธีบวงสรวงและเปิดพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2502 ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดให้วันที่ 25 มกราคม ของทุกปี เป็นวันถวายราชสักการะพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ พร้อมกันนั้นทางจังหวัดได้จัดให้มีงานเฉลิมฉลองพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ทุกปี เลยจากเจดีย์ไปประมาณ 100 เมตร เป็นที่ตั้งของ พระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายในมีรูปปั้นของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุพรรณกัลยา มีผู้นิยมไปสักการบูชาอยู่เสมอ วันกองทัพไทย รัฐบาลได้กำหนดวันกองทัพไทยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)

ระพรหมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม ประยูร มีฤกษ์ ฉายา ธมฺมจิตฺโต เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรูปปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 2 และกรรมการมหาเถรสมาคม พระพรหมบัณฑิต เป็นพระนักวิชาการ นักบริหาร นักการศึกษา นักเทศน์และนักเขียน ผู้มีผลงานมากมายทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบัน และเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ในฐานะเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์ของวัดจนได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรรมจากองค์การยูเนสโก เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 5 สมัยได้ก่อสร้างสำนักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติและประธานผู้ก่อตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลกที่ได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาพิเศษขององค์การสหประชาชาต.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระพรหมมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)

ระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) เจ้าคณะภาค 5 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ แม่กองบาลีสนามหลวง เลขานุการแม่กองงานพระธรรมทูต รองประธานคณะพระธรรมจาริก หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 ประธานคณะเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เลขาธิการสมัชชามหาคณิสสร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)

ระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เป็นพระภิกษุนิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกายชาวไทย ในบรรดาหมู่ผู้ศรัทธานับถือมักเรียกท่านด้วยชื่อ "หลวงพ่อวัดปากน้ำ" เนื่องจากท่านดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร) ท่านเป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะพระวิปัสสนาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของการปฏิบัติกรรมฐานพุทธานุสติที่เรียกว่า วิชชาธรรมกาย ซึ่งนับเป็นวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)

ลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) (26 เมษายน พ.ศ. 2430 - 14 กันยายน พ.ศ. 2498) เป็นนักบินคนแรกของประเทศไทยและเป็นผู้ให้กำเนิดกองทัพอากาศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)

ระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เป็นพระภิกษุนิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดจันทาราม (ท่าซุง) จังหวัดอุทัยธานี มีชื่อเสียงในด้านการบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้วิชามโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) หลังการมรณภาพ สังขารร่างกายของท่านมิได้เน่าเปื่อยอย่างศพของคนทั่วไป และได้มีการเก็บรักษาไว้ที่วัดท่าซุงจนถึงปัจจุบันนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)

ระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) (นามเดิม:วิเชียร เรืองขจร) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ และรองเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระอาจารย์ธรรมโชติ

รูปปั้นพระอาจารย์ธรรมโชติ พระอาจารย์ธรรมโชติ เป็นชื่อพระสงฆ์ในค่ายบางระจันในบางตำร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระอาจารย์ธรรมโชติ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต)

ระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) เป็นพระเกจิอาจารย์มหาเถระในจังหวัดเพชรบุรีที่มีชื่อเสียงมากของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอู่ทอง

ระเจ้าอู่ทอง เป็นคำที่ใช้เรียก ตำแหน่งพระมหากษัติย์หรือเจ้าผู้ครองเมืองอู่ทอง ของแคว้นลพบุรีสุพรรณภูมิ เช่นเดียวกับ คำว่าพระร่วงเจ้า ของอาณาจักรสุโขทัย และพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรศรีธรรมโศกราช พระเจ้าอู่ทอง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระเจ้าอู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร)

ระเทพศาสนาภิบาล นามเดิม แย้ม ฉายา กิตฺตินฺธโร (เกิด: 27 มิถุนายน 2498 -) รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง เลขานุการหัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 1.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

ัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตั้งอยู่ในบริเวณทิศใต้ของที่ว่าการอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยธรรมจักรศิลา พระพุทธรูปสำริด พระพุทธรูปดินเผา ประติมากรรมดินเผา ลูกปัด เครื่องประดับ เครื่องมือเครื่องใช้ ชิ้นส่วนสถาปัตยกรรม ลวดลายปูนปั้น ฯลฯ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร

ัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร หรือ อุทยานมังกรสวรรค์ สร้างขึ้นตามความต้องการของ นายบรรหาร ศิลปอาชา ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เริ่มออกแบบและจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกรขึ้นภายในบริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อนำเสนอเรื่องราวความเป็นมาของชาวจีนในประเทศไทย ตลอดจนประวัติศาสตร์และอารยธรรมจีน เพื่อเป็นอนุสรณ์สัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน ครบ 20 ปีใน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธุ์มังกร · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์ ญาดา

มพ์ ญาดา (หรือชื่อจริง: พิมพ์ญาดา อา​รมย์สุข) นักร้องลูกทุ่งภายใต้สังกัดนพพร ซิลเวอร์โกลด์ ที่มีผลงานเพลงเป็นที่รู้จักได้แก่เพลง สาวสุพรรณหวานแหวว, ถูกใจไหมจ๊อด, สาวระยอง, ขนลุก, รักแท้ แพ้เคเอฟซี และเพลง เบอร์ที่คอยไม่โทรมา เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพิมพ์ ญาดา · ดูเพิ่มเติม »

พุ่มพวง ดวงจันทร์

มพวง ดวงจันทร์ (4 สิงหาคม พ.ศ. 2504 – 13 มิถุนายน พ.ศ. 2535) ชื่อเล่น ผึ้ง ชื่อจริง รำพึง จิตรหาญ เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของฉายา ราชินีลูกทุ่ง ได้ชื่อว่ามีน้ำเสียงออดอ้อน หวาน จำเนื้อร้องได้แม่นทั้งที่ไม่รู้หนังสือ และเป็นแม่แบบให้แก่นักร้องรุ่นหลัง พุ่มพวงเกิดในครอบครัวที่ยากจนมาก และเรียนจบเพียงแค่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทำให้อ่านหนังสือไม่ออก แต่มีความจำดีและมีความสามารถด้านการร้องเพลงจึงทำให้ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ซึ่งได้เข้ามาทำการแสดงที่วัดทับกระดาน จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นบ้านของเธอได้เห็นแววความสามารถของเธอจึงรับไปเป็นบุตรบุญธรรม เธอมีเพลงดังในวงการมากมาย เช่น นักร้องบ้านนอก, กระแซะเข้ามาซิ, อื้อหือหล่อจัง, หนูไม่รู้, หัวใจถวายวัด, ขุดดินแช่ง, ขอให้รวย, หม้ายขันหมาก, อนิจจาทิงเจอร์, เสียสาวเมื่ออยู่ ม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและพุ่มพวง ดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กมลพร สุขมาก

กมลพร สุขมาก เกิดวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 เป็นหนึ่งในสมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ซึ่งเธอติดทีมชาติครั้งแรกใน พ.ศ. 2553 และเธอได้รับเลือกมาเล่นในตำแหน่งมือเซตแทน นุศรา ต้อมคำ บ่อยครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายการวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ ที่ทีมชาติไทยเข้าชิงอันดับ 5 กับวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น กมลพร สุขมาก ยังเป็นหนึ่งในนักวอลเลย์บอลที่โค้ชเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร เลือกอยู่ในรายชื่อของทีมในการควอลิฟายสู่แข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ปัจจุบัน เธอกำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและกมลพร สุขมาก · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กวินนา สุวรรณประทีป

กวินนา สุวรรณประทีป (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 -) อดีตนักแสดงวัยรุ่น เกิดที่จังหวัดสุพรรณบุรี จบนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เข้าสู่วงการด้วยการเป็นนักเรียนการแสดงช่อง 3 มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ฝากฝันไว้เดี๋ยวจะเลี้ยวมาเอา ร่วมกับ นฤเบศร์ จินปิ่นเพชร,ศิตา เมธาวี, อนิรุทธิ์ เถรว่อง และ วิทิต แลต ต่อมาจึงได้เล่นละครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและกวินนา สุวรรณประทีป · ดูเพิ่มเติม »

กัญจนา ศิลปอาชา

นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี หลายสมัย เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 เป็นบุตรีของนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตนายกรัฐมนตรี และคุณหญิงแจ่มใส ศิลปอ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและกัญจนา ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ก้าน แก้วสุพรรณ

ก้าน แก้วสุพรรณ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี มีน้ำเสียงหวานไพเราะ และได้ชื่อว่าเป็นนักร้องผู้เปิดตำนานนักร้องจากแดนสุพรรณ เมืองที่ผลิตนักร้องลูกทุ่งระดับตำนานประดับวงการเพลงลูกทุ่งมากมาย ก้าน แก้วสุพรรณ มีผลงานเพลงดังมากมาย แต่ที่สร้างชื่อเสียงอย่างมากให้กับเขาก็คือเพลง “น้ำตาลก้นแก้ว”.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและก้าน แก้วสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ. 2430 โดยเริ่มทำการสอนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

(Bansomdejchaopraya Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (Kanchanaburi Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี จัดตั้งขึ้นเป็นวิทยาลัยครูกาญจนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2516 เป็นมหาวิทยาลัยมาตรฐานสากล.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (Suan Sunandha Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ถูกจัดอันดับมหาวิทยาลัยให้เป็นราชภัฏอันดับ 1 จากการจัดอันดับของสภาวิจัยจากประเทศสเปน สหภาพยุโรป และได้รับการติดจาก QS Star ประเทศอังกฤษ ในระดับ 2 ดาว ซึ่งหมายความว่าเป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติจำนวนมาก เป็นที่รู้จักในวงกว้างของสถาบันที่นำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติ (เป็นราชภัฏเพียงแห่งเดียวจาก 38 แห่งทั่วประเทศไทยที่ได้รับการติดดาวQS) นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับดาวจาก QS โดยสวนสุนันทาตั้งเป้าไว้ที่จะได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกจาก QS ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสากลเรื่องของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีรากฐานมาจากการสถาปนา "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย" เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 เปิดสอน ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) ต่อมาจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยครูสวนสุนันทา" ในปี พ.ศ. 2518 ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (Thepsatri Rajabhat University) เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ที่ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยสวนดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีวิทยาเขตในสังกัด 4 แห่ง เปิดทำการสอนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นหลัก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มะเกลือ

มะเกลือ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป เรือนยอดเป็นพุ่มกลมกิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ผลดิบของมะเกลือมีสรรพคุณเป็นยา จัดเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง สมัยก่อนนิยมใช้ยางผลมะเกลือไปย้อมผ้า ผลที่เปลือกเป็นสีดำ เมื่อรับประทานทำให้หน้ามืด ตาลายตาพร่ามัว อาเจียน ท้องเดินและตาบอดได้ มะเกลือเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาคเหนือเรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า มะเกีย มะเกือ หรือ ผีผา ทางใต้เรียกว่า เกลือ แถบเขมร-ตราดเรียก มักเกลือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมะเกลือ · ดูเพิ่มเติม »

มนัส โอภากุล

นายมนัส โอภากุล (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2457 - 4 มกราคม พ.ศ. 2554) หรือชื่อที่ชาวจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกติดปากว่า "อาจารย์มนัส" เป็นนักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมนัส โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธหัตถี

วาดในจินตนาการการใช้ช้างศึกออกสงครามของพระเจ้าเปารยะ สู้กับ กองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราช ยุทธหัตถี หรือ การชนช้าง (Elephant duel) คือการทำสงครามบนหลังช้างตามประเพณีโบราณของกษัตริย์ในภูมิภาคอุษาคเนย์ เป็นการทำสงครามซึ่งถือว่ามีเกียรติยศ เพราะช้างถือเป็นสัตว์ใหญ่ และเป็นการปะทะกันซึ่ง ๆ หน้า ผู้แพ้อาจถึงแก่ชีวิตได้.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสัมฤทธิ์

ำริดคือยุคที่มนุษย์อาศัยอยู่เป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้น ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก ปลูกข้าว มีการเลี้ยงสัตว์ ชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีขึ้นกว่ายุคหิน รู้จักการทำสำริดเป็นเครื่องประดับ ยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิฮิตไทต์ และอาณาจักรไมซีเนียล่มสลาย ยุคต่อมาหลังยุคสัมฤทธิ์ คือ ยุคเหล็ก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและยุคสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินใหม่

หมู่บ้านในสมัยยุคหินใหม่ ในสกอตแลนด์ที่สมบูรณ์ที่สุดในทวีปยุโรป ยุคหินใหม่ (Neolithic หรือ New Stone Age) อยู่ในช่วงเวลาประมาณ 10200-4500/2000 ปีก่อนคริสตกาล โดยเป็นช่วงเวลาระหว่างยุคหินกลางกับยุคโลหะซึ่งมนุษย์ในยุคนี้อาศัยรวมกันอยู่เป็นหมู่บ้าน เริ่มรู้จักทำการเกษตรอย่างเป็นระบบ สามารถเพาะปลูกพืชและเก็บไว้เป็นอาหาร รู้จักทอผ้าและทำเครื่องปั้นดินเผา และเลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูกได้เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์มาเป็นสังคมเกษตรกรรม ที่ตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง มีการสร้างที่พักอาศัยถาวรเป็นกระท่อมดินเหนียวและตั้งหลักแหล่งตามบริเวณลุ่มน้ำ ยุคหินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม พืชเพาะปลูกที่สำคัญ คือ ข้าวสาลี ข้าวบาเลย์ และพืชอื่นๆ รู้จักใช้เครื่องมือล่าสัตว์และทำภาชนะจากดินเหนียว สำหรับเก็บข้าวเปลือกและใส่อาหาร สัตว์เลี้ยง ได้แก่ สุนัข แพะ แกะ และยังคงล่าสัตว์ เช่น กวาง กระต่าย หมูป่า สภาพชีวิตมนุษย์ในยุคหินใหม่ เปลี่ยนแปลงชีวิตตามความเป็นอยู่จากที่สูงมาอยู่ที่ราบใกล้แหล่งน้ำ โดยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่บ้านบนเนิน และดำรงชีวิตตามเศรษฐกิจใหม่ ได้แก่ เกษตรกรรม และพบว่ามีผลิตผลมากกว่าที่จะบริโภค ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนและการค้าขาย สมัยหินใหม่จัดเป็นการปฏิวัติครั้งแรกของมนุษย์ ที่ประสบความสำเร็จขั้นต้นในการปรับตัวให้เข้ากับข้อจำกัดของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องร่อนเร่ย้ายถิ่น และเป็นช่วงเวลา เริ่มต้นการรวมกลุ่มเป็นหลักแหล่ง ในบริเวณที่มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ ยุคหลังจากยุคหินใหม่คือ ยุคทองแดง (Chalcolithic) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของยุคสำริด (Bronze Age).

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและยุคหินใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเหล็ก

หล็ก เกิดหลังจากยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มใช้เหล็กในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ยุคต่อมาหลังยุคเหล็ก คือ สมัยโบราณ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและยุคเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รชยา รักกสิกรณ์

รชยา รักกสิกรณ์ (เดิมชื่อ: อุษณีย์ รักกสิกรณ์) มีชื่อเล่นว่า เอ๋ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2519 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนหอวัง, ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญและคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม เอ๋เคยมีผลงานก่อนเข้าวงการบันเทิง เมื่อ ปี 2536 โดยแสดงมิวสิควีดีโอเพลง "คำถามสุดท้าย" ของเต๋า-สมชาย เข็มกลัด และแสดงมิวสิควีดีโอเพลง "อีกสักครั้ง" ของมาลีวัลย์ เจมีน่า จากนั้นได้ถ่ายแบบภาพนิ่งลงนิตยสารวัยรุ่น เริ่มเข้าสู่วงการจริงจังด้วยการประกวดของนิตยสาร "เดอะบอย (The Boy)" มีผลงานการแสดงเป็นนักแสดงจากละครโทรทัศน์เรื่องต่าง ๆ ในสังกัดช่อง 7 โดยมีผลงานครั้งแรก คือ วันนี้ที่รอคอย และ ศีรษะมาร และผลงานเรื่องอื่น ๆ เช่น ศิลามณี, น้ำใสใจจริง, สายโลหิต, นายขนมต้ม, นางทาส ผลงานนอกช่อง 7 ได้แก่ ทะเลสาบสีเลือด ทางไอทีวี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและรชยา รักกสิกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดสุพรรณบุรี

รายชื่อวัดในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและรายชื่อวัดในจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

วรรณกรรมไทย

วรรณคดีไทย คือ วรรณกรรมทุกประเภทไม่ว่าในลักษณะร้อยแก้ว หรือร้อยกรองที่ประพันธ์ขึ้นเป็นภาษาไทย โดยมีเอกลักษณ์ของการใช้ภาษาแบบไทย เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของการประดิษฐ์สร้างสรรค์วรรณคดี และเป็นสาเหตุประการสำคัญที่ทำให้ลักษณะวรรณคดีของชาติในแต่ละยุคแตกต่างกัน วรรณคดีไทยที่ปรากฎขึ้นในสมัยสุโขทัยเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 มีลักษณะที่สอดคล้องกับเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นตอนที่ชาวไทย หรือชาวสยาม ได้เริ่มพัฒนาภาษาของตนขึ้นอย่างมีเอกลักษณ์ แตกต่างไปจากภาษาของชนที่พูดภาษาไท-กะไดเผ่าอื่น โดยเริ่มมีหลักฐานปรากฎชัดราวสมัยที่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และเริ่มการปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วง คนไทยกำลังแสวงหาลักษณะเฉพาะของชาติ วรรณคดีสุโขทัยก็ได้สะท้อนความจริงนี้ และได้บันทึกถึงสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นต้นเค้าของลักษณะไทย เช่น การบันทึกในศิลาจารึกเรื่องการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย โดยพระเจ้ารามคำแหงมหาราช กษัตริย์องค์ที่สาม เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวรรณกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดี

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะสามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวรรณคดี · ดูเพิ่มเติม »

วราวุธ ศิลปอาชา

นายวราวุธ ศิลปอาชา ประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวราวุธ ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

วรเวช ดานุวงศ์

วรเวช ดานุวงศ์ (ชื่อเล่น: แดน) เป็นนักร้อง, นักแสดงและ ผู้กำกับภาพยนตร์ ชาวไทย และเป็นอดีตสมาชิกนักร้องกลุ่มดีทูบี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวรเวช ดานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่าวัดกลางนา ต่อมาถูกยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีจุดเด่นที่สำคัญคือ องค์พระปฐมเจดีย์ หรือ พระธมเจดีย์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ใหญ่และสูงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย องค์พระปฐมเจดีย์ปัจจุบันนี้ เป็นพระเจดีย์ทรงลังกา แบบสุโขทัย สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสร้างครอบเจดีย์เดิมถึงสององค์ ได้แก่ เจดีย์ทรงสถูปสาญจีตามแบบอินเดียยุคพระเจ้าอโศกมหาราช และเจดีย์ทรงขอมโบราณ นอกจากองค์พระปฐมเจดีย์แล้ว ในลานชั้นลดด้านทิศใต้องค์พระปฐมเจดีย์และพระอุโบสถมีพระประธาน พระพุทธรูปศิลาขาว ซึ่งเป็นสองในสี่พระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบาท ปางแสดงธรรม ที่สร้างขึ้นในยุคทราวดี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระนอน

วัดพระนอน ตั้งอยู่ในเขต ตำบลจองคำ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองแม่ฮ่องสอน ติดบริเวณเชิงเขาทางขึ้นวัดพระธาตุดอยกองมู ชื่อวัดพระนอน ได้ตั้งชื่ีอให้เหมาะสมกับการที่มีองค์พระนอนที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ประดิษฐานอยู่ในศาลาการเปรียญ(วิหาร)ของวัดพระนอน วัดนี้มีมาอยู่ก่อนแล้ว เดิมทีสถานที่ตั้งของวัดนี้เป็นป่าเขา และเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อเมืองขยายขึ้นก็กลายเป็นวัดในเมือง วัดพระนอนเป็นวัดที่สำคัญเป็นที่ประดิษฐานองค์พระนอนองค์ใหญ่ ศิลปะแบบไทใหญ่ ขนาดยาว 11 เมตร 99 เซนติเมตร สร้างโดยศรัทธา "พญาสิงหนาทราชา" เจ้าเมืององค์แรกของเมืองแม่ฮ่องสอน ได้รับพระราชทานวิสูงคามสีมา พุทธศักราช 2469 วัดพระนอนแห่งนี้ได้รับการยกย่องและยอมรับนับถือให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมืองแม่ฮ่องสอน และเป็นวัดที่มีเจ้าอาวาสอยู่ประจำมาตั้งแต่ พุทธศักราช 2430 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดพระนอน · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (/พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพร้าว

วัดพร้าว วัดพร้าวเป็นวัดที่เก่าแก่มากติดกับประตูน้ำโพธิ์พระยา ห่างจากตัวจังหวัดสุพรรณบุรีประมาณ 9 กิโลเมตร มีโบราณวัตถุถึงสมัยอยุธยา และสมัยอู่ทองตอนปลายคือใบเสมาหินทรายแดงสมัยอยุธยา และพระพุทธรูปหินทรายสมัยอู่ทองตอนปลาย หาชมได้ยาก นับเป็นโบราณวัตถุที่เก่าแก่ และน่าศึกษามาก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

วัดกลาง

วัดกลาง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดกลาง · ดูเพิ่มเติม »

วัดญาณเวศกวัน

วัดญาณเวศกวัน (ซึ่งบางคนอ่านเป็น วัดดอนเมือง) ตั้งอยู่เลขที่ 10 หมู่ที่ 3 ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้รับอนุญาตเป็นทางการ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2532 เริ่มมีพระสงฆ์เข้าจำพรรษาในปีเดียวกันนั้น และมีประกาศตั้งเป็นวัดในปี พ.ศ. 2537 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2542 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เป็นเจ้าอาวาสสืบมาแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน ภายในเนื้อที่ 28 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา ร่มรื่นด้วยพรรณไม้น้อยใหญ่ ผลิดอกออกใบอยู่ทั่วบริเวณ โอบล้อมด้วยบรรยากาศ แห่งธรรมชาติที่เกื้อกูลกันระหว่างสรรพชีวิต เป็นรมณียสถานที่ให้ความสดชื่นผ่อนคลาย สงบเย็น แก่ผู้ที่แวะเวียนเข้ามาพักพิง ด้วย ความตั้งใจที่จะให้อารามแห่งนี้เป็นป่าที่เหมาะแก่การเข้ามาแสวงหาความรู้ เจริญธรรม เจริญปัญญา สมดังชื่อ "ญาณเวศกวัน" อันมี ความหมายว่า "ป่าที่มีเรือนแห่งความรู้" หรือ "ป่าของผู้เข้าสู่ญาณ" พื้นที่ส่วนใหญ่ของวัดจึงมีไว้สำหรับต้นไม้มากกว่าสิ่งปลูกสร้าง เพราะธรรมชาติที่อยู่รายล้อมรอบตัวคือแหล่งการศึกษาเรียนรู้อันกว้างใหญ่ ล้ำลึก เป็นธรรมะใกล้ตัวที่ผู้มีปัญญาจะพึงค้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดญาณเวศกวัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชบุรณราชวรวิหาร

วัดราชบุรณราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย เดิมชื่อ "วัดเลียบ" เชื่อกันว่าพ่อค้าชาวจีนนาม "เลี้ยบ" เป็นผู้สร้างถวาย ตั้งอยู่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดนี้เป็นวัดหนึ่งตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ และวัดราชประดิษฐาน พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดเลียบ เสร็จแล้วพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระราชทานนามว่า "วัดราชบุรณะ" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากวัดตั้งอยู่ใกล้เคียงกับสถานที่สำคัญทางยุทธศาสตร์ คือ สะพานพระพุทธยอดฟ้า และ โรงไฟฟ้าวัดเลียบ สถานที่สำคัญ ๆ ของวัด รวมทั้งพระอุโบสถที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ฝีมือขรัวอินโข่ง จึงถูกระเบิดทำลายจนหมด ปัจจุบันวัดราชบุรณะได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งหม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดราชบุรณราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

ผนังกรุหินอ่อนในพระวิหาร (พระอุโบสถ) และปาสาณเจดีย์ (เบื้องหลัง) อันเป็นสัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมที่สำคัญของวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม "พระพุทธสิหิงคปฏิมากร" พระประธานพระวิหารหลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดฯ ให้จำลองมาจากพระพุทธสิหิงค์ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ตามธรรมเนียมประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ 3 วัด คือ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดราชประดิษฐาน จึงทรงสร้างขึ้นใหม่เพื่อให้ครบตามโบราณราชประเพณี และเพื่อพระอุทิศถวายแก่พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกายเพื่อที่พระองค์เองและเจ้านาย ข้าราชการ ที่จะไปทำบุญที่วัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายใกล้พระบรมมหาราชวังได้สะดวก วัดราชประดิษฐฯ จึงเป็นวัดฝ่ายธรรมยุติกนิกายวัดแรกที่สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ในนิกายนี้ เพราะวัดอื่น ๆ ของฝ่ายธรรมยุตเป็นวัดที่แปลงมาจากวัดของมหานิกาย วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามสร้างขึ้นในที่ดินที่เคยเป็นสวนกาแฟของหลวงโดยก่อสร้างใน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชนัดดารามวรวิหาร

วัดราชนัดดารามวรวิหาร หรือ "วัดราชนัดดา" ตั้งอยู่ใกล้กับป้อมมหากาฬ ติดกับลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ซึ่งเป็นพลับพลารับแขกเมือง เชิงสะพานผ่านฟ้าลีลาศ ใกล้กับวัดเทพธิดาราม ขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดราชนัดดารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสระแก้ว

วัดสระแก้ว หรือ วัดใต้ เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2406 โดย ท่านพนฺธุโล (ดี) พระมหาเถระผู้สถาปนาคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายในจังหวัดอุบลราชธานีและภาคอีสาน ซึ่ง วัดสระแก้ว เป็นวัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายวัดที่ 5 ในจังหวัดอุบลราชธานีและภาคอีสาน วัดตั้งอยู่บริเวณ แก่งสะพือ ติดกับแม่น้ำมูลในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร ห่างจากตัวจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วัดสำปะซิว

วัดสำปะซิว (ワット・サンパシウ; Wat Sampa Siw) ตั้งอยู่ที่ตำบลสนามชัย อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นที่รู้จักในฐานะวัดที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนถึงตัวละครการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง โดราเอม่อน ปรากฏขึ้นที่อุโบสถวัด อาทิ โดเรม่อนตกกระทะทองแดง, โดเรม่อนเฝ้าพระพุทธเจ้า, โดเรม่อนเล่นน้ำ และโนบิตะตกนรก ซึ่งสร้างสรรค์ภาพขึ้นโดยรักเกียรติ เลิศจิตรสกุล โดยมีภาพตัวละครดังกล่าวที่เขียนขึ้นที่วัดแถวธาร ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่เขียนภาพโดยศิลปินคนเดียวกัน ซึ่งทีมงานถ่ายทำสารคดีจากประเทศญี่ปุ่นได้เดินทางมาถ่ายทำเรื่องราวที่น่าสนใจเหล่านี้ในเวลาต่อมา ทั้งนี้ พระมหาอนันต์ กุสลาลงกาโร ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสที่ทราบในภายหลังก็เข้าใจว่าผู้วาดมีเจตนาดี ด้วยการสอดแทรกหลักธรรมะ เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับเด็กที่มาเยี่ยมชม ทาง วิศรุต อินแย้ม ซึ่งเป็นผู้อำนวยการการท่องเที่ยวของจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าใจว่าผู้สร้างสรรค์คงมีกุศโลบายสร้างปริศนาธรรมเพื่อสอดแทรกหลักธรรมะด้านการทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว โดยภาพดังกล่าวสร้างความน่าสนใจต่อผู้เข้าชมเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดสำปะซิว · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร

วัดสุวรรณาราม ราชวรวิหาร หรือนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัดสุวรรณาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ปัจจุบันตั้งอยู่ในซอยจรัญสนิทวงศ์ 32 ถนนจรัญสนิทวงศ์ ตรงข้ามกับแยกบางขุนนนท์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย โดยติดอยู่ริมคลองบางกอกน้อยฝั่งตะวันตก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดสนามชัย

วัดสนามชัย ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลสนามชัย (เดิมชื่อตำบลพิหารแดง) อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรีมีเนื้อที่ประมาณ 57 ไร่ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดสนามชัย · ดูเพิ่มเติม »

วัดคูหาสวรรค์วรวิหาร

วัดคูหาสวรรค์วรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ในแขวงคูหาสวรรค์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดคูหาสวรรค์วรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ใกล้กับเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี โดยมีเลขทะเบียนวัดที่ 24 ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร การบูรณะวัดส่งผลให้วัดได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 (Award of Excellence) ให้โครงการบูรณปฏิสังขรณ์พระบรมธาตุมหาเจดีย์วัดประยุรวงศาวาส ด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ

วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ ณ ที่ราบลุ่มบางกอกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่ริมคลองหลวงหรือ คลองบางกอกใหญ่ อันเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม ก่อนที่จะมีการขุดคลองลัดหน้าวัดอรุณราชวรารามและกลายเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน เนื่องจากวัดตั้งอยู่บริเวณปากคลองด่านที่แยกไปจากคลองบางหลวงอีกทีหนึ่ง ชื่อของวัดจึงถูกเรียกขานตามตำบลที่ตั้งว่า วัดปากน้ำ ซึ่งชื่อนี้มีปรากฏเรียกใช้ในจดหมายเหตุโบราณหลายฉบับ แต่ได้พบชื่อของวัดที่แปลกออกไปในแผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2453 และ พ.ศ. 2474 ว่า วัดสมุทธาราม แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกขานกันอย่างนั้น คงเรียกว่า วัดปากน้ำ มาโดยตลอด ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองภาษีเจริญที่ข้างวัดด้านทิศตะวันตก วัดจึงมีลำน้ำหลักล้อมอยู่ทั้ง 3 ด้าน ส่วนด้านใต้เป็นคลองเล็กแสดงอาณาเขตของวัดในสมัยก่อน วัดปากน้ำ เป็นวัดโบราณสร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง (ระหว่าง พ.ศ. 2031-2172) สถาปนาโดยพระราชวงศ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏพระนามแน่ชัด เป็นวัดประจำหัวเมืองธนบุรี ปรากฏในตำนานเรื่องวัตถุสถานต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาว่าเป็นพระอารามหลวงครั้งกรุงศรีอยุธยา อันหมายถึงพระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินหรือพระมเหสีทรงสถาปนาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น หลักฐานทางโบราณวัตถุและโบราณสถานภายในวัดมีอายุย้อนไปถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง ได้พบร่องรอยคลองเล็กด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของวัด ที่โบราณขุดไว้เป็นแนวเขตที่ดินของวัดหลวงสมัยอยุธยา ที่ตั้งของวัดปากน้ำจึงมีลักษณะเป็นเกาะรูปสี่เหลี่ยมมีน้ำล้อมอยู่ทุกด้าน สถาปัตยกรรมและศิลปวัตถุที่อยู่คู่วัดมาเช่น หอพระไตรปิฏก ตู้พระไตรปิฎกทรงบุษบก ล้วนเป็นฝีมือช่างหลวงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และตัวพระอุโบสถก็ใช้เทคนิคการก่อสร้างในสมัยนั้น ได้ค้นพบนามเจ้าอาวาส 1 รูป ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) คือ พระครูธนะราชมุนี วัดปากน้ำ ได้มีบทบาทสำคัญมาแต่โบราณเพราะได้รับสถาปนาเป็นพระอารามหลวงที่อยู่นอกกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดสำคัญประจำหัวเมืองหน้าด่านทางทะเล ในจดหมายเหตุสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคถวายผ้าพระกฐินหลวง ณ วัดปากน้ำ ตลอดรัชกาลวัดปากน้ำได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์มาโดยตลอด คือ ได้รับพระราชทานพระราชทรัพย์จากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในการซ่อมหลังคาพระอุโบสถคราวหนึ่ง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหญ่ในตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และให้คงรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาไว้ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทางวัดได้รับพระบรมราชานุญาตบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่เกือบทั้งอารามโดยให้อนุรักษ์ศิลปะเดิมไว้ และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์นำพระกฐินหลวงมาถวายตลอดรัชกาล ในสมัยรัชกาลที่ 6 วัดปากน้ำได้ชำรุดทรุดโทรมลง ไม่มีเจ้าอาวาสประจำพระอาราม มีแต่ผู้รักษาการที่อยู่ในอารามอื่น ทางเจ้าคณะปกครองได้ส่งพระสมุห์สด จนฺทสโร จากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งท่านได้กวดขันพระภิกษุสามเณรให้ปฏิบัติในพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด ที่สำคัญได้มีการสอนสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรมตั้งสำนักเรียนทั้งนักธรรมและบาลี สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่ทันสมัยที่สุดในสมัยนั้น ทำให้พระภิกษุสามเณร และสาธุชนเข้ามาขอศึกษาและปฏิบัติธรรมเป็นจำนวนมาก วัดจึงเจริญขึ้นมาโดยลำดับ กลายเป็นศูนย์กลางการปฏิบัติธรรม และเป็นศูนย์กลางการศึกษาบาลี ท่านได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะฝ่ายวิปัสสนาธุระ และได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์มาโดยลำดับ สมณศักดิ์สุดท้ายในพระราชทินนามที่ พระมงคลเทพมุนี แต่ผู้คนทั่วไปรู้จักและเรียกขานนามท่านว่า หลวงพ่อวัดปากน้ำ ในสมัยสมเด็จพระวันรัต (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ดำรงตำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส (ในกาลต่อมาท่านได้รับพระราชทานสถาปนาพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) วัดปากน้ำได้รับการปรับปรุงทัศนียภาพและบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งสำคัญ เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ช่างได้เปลี่ยนสถาปัตยกรรมเครื่องบนเป็นศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เกือบทั้งอาราม แต่ตัวรากฐานและอาคารยังคงเป็นของโบราณแต่เดิมมา ถึงสมัยพระเดชพระคุณท่านเจ้าพระคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ. 9) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำรูปปัจจุบัน วัดปากน้ำได้พัฒนาอย่างมากในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม มีพระภิกษุสามเณรสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคในนามวัดปากน้ำเป็นจำนวนมาก และการปฏิบัติภาวนาตามแนวหลวงพ่อวัดปากน้ำก็ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มีสถานที่ปฏิบัติ คือ หอเจริญวิปัสสนาเป็นเอกเทศ และมีผู้เข้าปฏิบัติเป็นจำนวนมากทุกวัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าเลไลยก์

วัดป่าเลไลยก์ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดป่าเลไลยก์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

ระพุทธรูปภายในโบสถ์วัดป่าเลไลย์ฯ (ภาพถ่ายปี 2558) วัดป่าเลไลยก์ “หลวงพ่อโต” วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ ตั้งอยู่ที่ ถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรีชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า วัดป่า ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อโตปางป่าเลไลยก์เดิมหลวงพ่อโตเป็นพระพุทธรูปปางประทานปฐมเทศนา เช่นเดียวกับพระพุทธรูปศิลาขาว หรือหลวงพ่อประทานพร วัดพระปฐมเจดีย์ ต่อมาได้มีการบูรณะและทำเป็นปางป่าเลไลยก์ ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน วัดป่าเลไลยก์วรวิหารเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ระดับวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่หน้าบันของวิหารวัดป่าเลไลยก์มีเครื่องหมายพระมหามกุฎอยู่ระหว่างฉัตรคู่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จธุดงค์มาพบสมัยยังผนวชอยู่ เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้วจึงทรงมาปฏิสังขรณ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดแค

วัดแค ตั้งอยู่บริเวณ ตำบลวัดแค อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม “วัดแค” มีชื่อเดิมว่า “วัดกัมพูชาราม” ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามเชื้อชาติของผู้อยู่อาศัยในบริเวณนี้ ซึ่งเป็นชาวกัมพูชาเป็นส่วนมาก โดยไม่ปรากฏหลักฐาน ว่าสร้างขึ้นในยุคสมัยใด และใครเป็นผู้สร้าง ตามประวัติแล้วเชื่อว่าน่าจะมีอายุประมาณ 200 ปี ซึ่งเมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางศิลปะ และลักษณะความโดดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมของแต่ละยุคสมัย สิ่งที่วัดแค มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากวัดอื่นโดยทั่วไป ก็คือ เครื่องยอดของหลังคาโบสถ์เป็นรูปมังกรแทนที่เครื่องยอดทั่วไปตามสถาปัตยกรมแบบพุทธศาสนาซึ่งมีช่อฟ้า ใบระกา หางหงษ์ มังกรแบบจีนนี้เลื้อยขดอยู่ที่ปลายสุดของสันหลังคาทั้งสองด้าน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นการใช้ศิลปกรรมแบบจีน นอกจากนั้นบริเวณหน้าบันของวิหาร ยังมีเครื่องถ้วยชามทั้งที่เป็นชามลายครามและชาม ซึ่งการใช้ถ้วยชามประดับสถาปัตยกรรม จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ลักษณะทางศิลปะ สถาปัตยกรรม และข้อสังเกตต่างๆ จึงสันนิษฐานได้ว่า วัดแค น่าจะสร้างขึ้นในสมัย รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในสมัยนั้น ซึ่งมักเรียกว่าแบบจีนนี้นิยม ดังเช่นพระอุโบสถวัดเทพธิดาราม พระปรางค์วัดอรุณฯ พระอุโบสถวัดเขายี่สาน อำเภออัมพวา สมุทรสงคราม เป็นต้น โดยจากการศึกษาประวัติศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในอดีต พบว่านับตั้งแต่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ - ๓ ไทยยังมีสงครามกับเพื่อนบ้านอยู่เป็นระยะ ๆ ทำให้มีการอพยพเชลยศึกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเป็นกำลังพัฒนาประเทศ เชลยศึกเหล่านั้นถูกกำหนดให้นำมาไว้ที่ริมแม่น้ำนครชัยศรี โดยเฉพาะเขตอำเภอนครชัยศรี เช่น ชุมชนชาวลาวที่ใกล้วัดกลางคูเวียง ชุมชนชาวเขมรที่ใกล้วัดแคและวัดสัมปทวน ส่วนแขกฮินดูจากเขมรไว้ที่วัดโคกแขก และ มอญไว้ที่ทางราชบุรี แต่เดินทางผ่านแม่น้ำนครชัยศรีช่วงวัดท่ามอญวัดตรงนั้นจึงชื่อวัดท่ามอญ ซึ่งในช่วงรัชกาลที่ ๓ ได้มีการอพยพย้ายถิ่นของคนจีนจากหลายจังหวัดและมณฑลของจีนแผ่นดินใหญ่ เพื่อหลีกหนีความยากลำบากจากการดำรงชีพในจีน เพื่อหาแหล่งดำรงชีพที่ดีกว่า จึงมุ่งตั้งหลักปักฐานในประเทศไทย โดยรอนแรมมาทางเรือเข้ามายังอ่าวไทยเพื่อที่จะมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งคนจีนเหล่านั้นก็ได้รับการต้อนรับด้วยดี ทำให้คนจีนแทรกตัวอยู่ในชุมชนไทยทุกหนทุกแห่งที่อยู่ริมแม่น้ำลำคลองในภาคกลางรวมถึงที่มณฑลนครชัยศรีแห่งนี้ด้วย และเมื่อศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนบริเวณนครชัยศรี พบว่า หลักฐานจากตอนหนึ่งของหนังสือ “พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวกับโบราณคดี ในเมืองนครชัยศรี” ซึ่งอาจารย์ชูสิริ จามรมาน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร เรียบเรียงเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดแค · ดูเพิ่มเติม »

วัดโบสถ์

วัดโบสถ์ เป็นชื่อของวัดและสถานที่ต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดโพธารามมหาวิหาร

วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวง เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ (เดิมชื่อวัดเจดีย์เจ็ดยอด หรือ วัดเจ็ดยอด) ตั้งอยู่ที่ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 1998 พระเจ้าติโลกราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงสร้างวัดโพธารามมหาวิหาร สร้างด้วยศิลาแลงประดับลวดลายปูนปั้น เป็นเจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2020 วัดโพธารามมหาวิหาร เป็นสถานที่สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 8 ของโลก ปัจจุบันเจดีย์เจ็ดยอดหักพังไปเกือบหม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดโพธารามมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดไผ่โรงวัว

มเด็จพระกะกุสันโท ปางมารวิชัย สูง 58 เมตร หน้าตักกว้าง 40 เมตร สิ่งก่อสร้างภายในวัด วัดไผ่โรงวัว หรือ วัดโพธาราม เป็นวัดที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง วัดมีพื้นที่ทั้งหมด 248 ไร่ พื้นที่ของวัดแต่เดิมเป็นดงป่าไผ่ที่ชาวบ้านนำวัวมาผูกไว้ระหว่างทำนา ปัจจุบันภายในวัดมีสิ่งก่อสร้างต่างๆเป็นจำนวนมาก เช่น พระพุทธรูปต่างๆ รูปหล่อพุทธประวัติ พระโพธิสัตว์ พระวิหารร้อยยอด เจดีย์ร้อยยอด สังเวชนียสถานจำลอง เมืองสวรรค์เมืองนรกจำลอง ซึ่งสิ่งก่อสร้างเหล่านี้ทำให้มีนักท่องเที่ยวแวะเวียนมาอย่างสม่ำเสมอ โดยวัดแห่งนี้ ตั้งอยู่บริเวณทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3422 กิโลเมตรที่ 19 นรกภูมิที่วัดไผ่โรงวัว.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดไผ่โรงวัว · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร อยูในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ใกล้สะพานกษัตริย์ศึกและสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) อยู่รวมกับ "โรงเรียนเทพศิรินทร์" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อ พ.ศ. 2419 ขณะมีพระชนมายุครบ 25 พรรษาพอดี เพื่อทรงเฉลิมพระเกียรติและอุทิศพระราชกุศลสนองพระเดชพระคุณกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งได้เสด็จสวรรคตตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ยังทรงพระเยาว์ วันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วาณิช จรุงกิจอนันต์

วาณิช จรุงกิจอนันต์ (9 สิงหาคม พ.ศ. 2491 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นนักเขียนและกวีชาวไทย ได้รับรางวัลซีไรต์ ในปี พ.ศ. 2527 จากเรื่องซอยเดียวกัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวาณิช จรุงกิจอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

วนอุทยานพุม่วง

วนอุทยานพุม่วง ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลจระเข้สามพัน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาตะโกปิดทองและป่าเขาเพชรน้อย มีเนื้อที่ประมาณ 1,725 ไร่ โดยกรมป่าไม้ได้ประกาศจัดตั้งเป็นวนอุทยานเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและวนอุทยานพุม่วง · ดูเพิ่มเติม »

ศรศิลป์ มณีวรรณ์

รศิลป์ มณีวรรณ์ (ชื่อเล่น: มะนาว) เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัดสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและศรศิลป์ มณีวรรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรเพชร ศรสุพรรณ

รเพชร ศรสุพรรณ มีชื่อจริงว่า บุญทัน คล้ายละมั่ง เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย จากจังหวัดสุพรรณบุรี มีชื่อเสียงจากเพลง "ข้าวไม่มีขาย" ซึ่งได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำ เมื่อปี พ.ศ. 2518 ศรเพชร จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดศรีสร้อยเพชร อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เริ่มเข้าสู่อาชีพนักร้อง จากการเป็นนักร้องเชียร์รำวงของ ดำ แดนสุพรรณ โดยมี เลี้ยง กันชนะ เป็นผู้ชักนำเข้าวงการ จนได้พบกับ โผผิน พรสุพรรณ นักร้องเชียร์รำวงอีกคนหนึ่ง โผผินจึงแต่งเพลงให้กับศรเพชรไว้หลายเพลงจนมีชื่อเสียงโด่งดังในช่วงปี พ.ศ. 2513-2519 โดยเพลงที่สร้างชื่อเสียงอย่างมาก คือ "ข้าวไม่มีขาย" ได้รับรางวัล นักร้องดีเด่นเสาอากาศทองคำ จากสถานีวิทยุเสียงสามยอด ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและศรเพชร ศรสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา พัทธสีมา

ักดา พัทธสีมา (ดา) นักร้องนำวงอินคา เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2504 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี มีพี่น้องทั้งหมด 6 คน ดาเป็นคนที่ 3 จบประถมศึกษาจากโรงเรียนสามัคคีศึกษา เข้าเรียน ม.1 ที่โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย ที่จังหวัดสุพรรณบุรี ได้เพียงปีเดียว ก็ย้ายเข้ากรุงเทพฯ มาเรียนต่อด้านศิลปะที่โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป์ มีประสบการณ์การทำงานหลากหลาย เช่น เด็กปั๊ม พนักงานธนาคารกรุงศรีอ.เชียงใหม่ ค้าขายปลาแฟนซีคราฟที่สุพรรณบุรี ดาเริ่มเข้าวงการดนตรีโดยเป็นสมาชิกวง “เดอะ สไปรท์ส” เล่นประจำอยู่ที่ กุ๊ชชี่คลับ โรงแรมบางกอกพาเลซ และ เป็นนักร้องนำของวง เดอะ สไปรท์ส ในอัลบั้ม “อยู่เพื่อรัก” จากนั้นรับงานร้องเพลงโฆษณา เพลงพิเศษต่างๆ ต่อมาได้รับการสนับสนุนจาก เรวัต พุทธินันท์ แห่งจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ให้ออกผลงานเพลงแนวคันทรี่ร็อก ในนาม “วงอินคา” ร่วมกับ จารุวัฒน์ วิเศษสมบัติ (อ้อม), นล สิงหลกะ (อ๋อ), ปิติ ดวงพิกุล (ป๊อบ), รณภพ อรรคราช (เต้ย) และ วรวิทย์ พิกุลทอง (บอย) หลังจากอัลบั้มชุดที่ 2 ของ อินคา ดาได้ออกผลงานเดี่ยว และผลงานร่วมกับ แอม เสาวลักษณ์ ลีละบุตร ต่อมาในปี 2549 อินคาได้กลับมารวมตัวและออกผลงานเพลงอีกครั้ง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและศักดา พัทธสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลหลักเมืองสุพรรณบุรี

ลหลักเมืองสุพรรณบุรี ศาลหลักเมืองสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในเขตเมืองโบราณสุพรรณบุรี ถนนมาลัยแมน ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ศาลหลักเมืองสุพรรณบุรี สร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยแต่เดิมน่าจะเป็นอาคารทรงไทย ภายในประดิษฐานเทวรูปพระนารายณ์สององค์คู่กัน สลักจากหินสีเขียว สวมหมวกทรงกระบอกศิลปกรรมสมัยลพบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและศาลหลักเมืองสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ. 2518 ปัจจุบันเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์

นายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2543 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตนักสร้างสรรค์รายการข่าวและผู้ประกาศข่าวของหลายสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเกียรติ อ่อนวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สมเดช ยนตรกิจ

มเดช ยนตรกิจ หรือ สำรวย ธานี (เกิดเมื่อ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2474 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี เสียชีวิตวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่โรงพยาบาลทหารผ่านศึก)ปิดตำนาน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเดช ยนตรกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 หรือ ขุนหลวงพะงั่ว เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์สุพรรณภูมิที่ได้ครองกรุงศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ทิม อุฑาฒิโม)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ทิม ฉายา อุฑาฒิโม เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และอดีตกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ทิม อุฑาฒิโม) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเพทราชา

มเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสมเด็จพระเพทราชา · ดูเพิ่มเติม »

สระศักดิ์สิทธิ์ทั้งสี่

สระศักดิ์สิทธิ์ทั้งสี่ อยู่ในตำบลสระแก้ว อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ห่างจากจังหวัดประมาณ 14 กิโลเมตร น้ำในสระทั้ง 4 นับถือว่าศักดิ์สิทธิ์มาแต่โบราณ เป็นน้ำที่ใช้ในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาและพระราชพิธีสรงน้ำมูรธาภิเษก ตามลัทธิพราหมณ์เพื่อความศักดิ์สิทธิ์ กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสุพรรณบุรี หมวดหมู่:จังหวัดสุพรรณบุรี หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสระศักดิ์สิทธิ์ทั้งสี่ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ กุลศรี

นายสหรัฐ กุลศรี (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2504) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสหรัฐ กุลศรี · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์

รองศาสตราจารย์ สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) อดีตคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ทอง สีใส

ังข์ทอง สีใส เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของฉายา "เทพบุตรหน้าผี".

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสังข์ทอง สีใส · ดูเพิ่มเติม »

สายัณห์ สัญญา

ัณห์ สัญญา เป็นอดีตนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย มีน้ำเสียง ลีลา อันเป็นเอกลักษณ์ สายัณห์ สัญญา มีผลงานเพลงอันเป็นอมตะ ติดหูคนไทยมากมายหลายสิบเพลง มานานกว่า 3 ทศวรรษ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสายัณห์ สัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณิการ์

อกสุพรรณิการ์แบบชั้นเดียวในบราซิล กำลังแก้ไข สุพรรณิการ์ สุพรรณิการ์ เป็นไม้ผลัดใบที่มีถิ่นกำเนิดในแถบทุ่งหญ้าเขตร้อนแซราดู (Cerrado) ในทวีปอเมริกาใต้ (บริเวณประเทศบราซิล, โบลิเวีย, ปารากวัย) แต่ปัจจุบันพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน สุพรรณิการ์มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ใกล้เคียงกับฝ้ายคำมาก ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งคือ ฝ้ายคำจะออกดอกเพียงชั้นเดียว มี 5 กลีบ และบานทีละดอก ในขณะที่สุพรรณิการ์จะมีทั้งชนิดที่ออกดอกชั้นเดียวและชนิดที่ออกดอกซ้อนกันเป็นกระจุกแน่น โดยบานพร้อม ๆ กัน ในประเทศไทยนิยมปลูกสุพรรณิการ์เป็นไม้ประดับ โดยได้รับการกำหนดให้เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดนครนายก และเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดนครนายก สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี และอุทัยธานี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสุพรรณิการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย สมบัติเจริญ

รชัย สมบัติเจริญ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2499 -) นักร้องเพลงลูกทุ่งและนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรชายคนที่สามของสุรพล สมบัติเจริญ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสุรชัย สมบัติเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล สมบัติเจริญ

รพล สมบัติเจริญ หรือ พันจ่าอากาศโทลำดวน สมบัติเจริญ เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2473 เป็นคนสุพรรณบุรีโดยกำเนิด เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของเพลงดัง "16 ปีแห่งความหลัง".

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสุรพล สมบัติเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์

ผศ.สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ เกิดมาในตระกูลช่างภาพโดยแท้ ในปัจจุบันนี้คนในสังคมจำนวนมากที่รู้จักร้านถ่ายภาพโบราณ "ศิลป์ธรรมชาติ" ที่ตลาดร้อยปีสามชุก หลายคนเคยไปถ่ายภาพที่ร้านนี้มาแล้ว ที่ร้านถ่ายภาพโบราณนี้คือที่กำเนิดของบุคคลผู้มีนามว่า สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ จบการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ) ปัจจุบัน สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ เป็นอาจารย์ประจำที่สาขาศิลปะภาพถ่าย คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต มีตำแหน่งทางวิชาการเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ และเป็นหัวหน้าสาขาศิลปะภาพถ่าย สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพสี เชี่ยวชาญเรื่องโซนซิสเต็ม มีผลงานด้านการถ่ายภาพ และร่วมแสดงงานกับกลุ่มศิลปินภาพถ่ายต่าง ๆ อยู่เสมอ ๆ ความสนใจอีกด้านหนึ่งที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ สนใจคือการถ่ายภาพด้วยกล้องรูเข็ม สร้างกล้องรูเข็มแบบต่าง ๆ ขึ้นมาถ่ายภาพและมีผลงานที่ถ่ายด้วยกล้องรูเข็มเป็นจำนวนมาก นับว่าเป็นแนวทางการทำภาพศิลปะอืกแนวหนึ่ง ที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ มีความถนั.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ

ลานน้ำพุด้านหน้า แผนที่ สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ อยู่ที่ ต.เดิมบาง อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 แล้วเสร็จและเปิดบริการตั้งแต่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 เปิดให้บริการทุกวัน ในเวลา 10.00 - 15.00 น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 พล.ร.อ.สงัดในขณะนั้นยังมียศ นาวาโท (น.ท.) เป็นผู้บังคับบัญชาเรือรบหลวงสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ยิงปืนจากเรือไปยังรถถังของฝ่ายรัฐบาลจนเสียหาย หลังเหตุการณ์ได้ถูกควบคุมตัวและถูกคุมขังเช่นเดียวกับผู้ต้องหาคนอื่น ๆ ที่สนามกีฬาแห่งชาติด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นนายทหารที่มีบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ด้วยการเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารเรือและผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเป็นผู้นำในการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง คือในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จนได้รับฉายาว่า "บิ๊กจอวส์" หรือ "จอวส์ใหญ่" ถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการหัวใจวาย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสงัด ชลออยู่ · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม

ระเบิดนิวเคลียร์ที่ นางาซากิในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สงคราม (war) คือ สถานะความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างองค์การที่เป็นอิสระ (เช่น รัฐและตัวแสดงที่มิใช่รัฐ) หรือแนวร่วมขององค์การดังกล่าว โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นการรุกราน การทำลายล้างรวมสุดขีดและปกติมีอัตราตายสูง ชุดเทคนิคที่กลุ่มใช้ดำเนินสงคราม เรียก การสงคราม (warfare) การปลอดสงคราม ปกติเรียก สันติภาพ นักวิชาการบางส่วนมองว่าการสงครามเป็นสากลและเป็นส่วนที่สืบมาแต่บรรพชนของธรรมชาติมนุษย์ แต่บางส่วนก็แย้งว่าสงครามเป็นเพียงผลลัพธ์แห่งกรณีแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรมหรือระบบนิเวศเฉพาะ ใน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สง่า มะยุระ

ง่า มะยุระ (20 สิงหาคม พ.ศ. 2452 - 12 กันยายน พ.ศ. 2521) จิตรกรชาวไทย เป็นเจ้าของและผู้ให้กำเนิดผลิตภัณฑ์พู่กัน เป็นโรงงานทำพู่กันแห่งแรกของประเทศไทย สง่า มะยุระเกิดที่ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรบุญธรรมในหลวงพ่อหรุ่น อดีตเจ้าอาวาสวัดเสาธงทอง เริ่มเรียนวิชาสามัญที่โรงเรียนวัดสัปรสเทศ พร้อมกับฝึกวิชาวาดเขียนมาตั้งแต่เด็กกับอาจารย์อู๋ ที่วัดมะนาว อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาได้มาอยู่กับอาจารย์ม้วนที่วัดสุวรรณาราม ริมคลองบางกอกน้อย ธนบุรี สง่าได้มีโอกาสเรียนวาดเขียนกับครูสอิ้งที่อยู่ข้างวัดสุวรรณาราม โดยครูสอิ้งพาไปช่วยเขียนลายรดน้ำที่หน้าต่างพระวิหารวัดพระเชตุพนฯ ต่อมาได้ไปสมัครทำงานเขียนพานแว่นฟ้ากับคุณผิน และเขียนตู้พระมาลัยที่วัดมหาธาตุ สง่า มะยุระ ได้รู้จักกับหลวงเจนจิตรยง ช่างเขียนอันลือชื่อในสมัยนั้น ท่านชวนให้ไปช่วยเขียนลายบนโถกะยาคู โดยนำฟักทองมากลึงให้มีรูปร่างเหมือนโถ และต้องเขียนลายให้เสร็จในวันเดียวกัน มิฉะนั้นฟักทองจะเหี่ยว ทั้งสองท่านช่วยกันเขียนจนเสร็จ หลวงเจนจิตรยงชื่นชอบฝีมือว่าของสง่า จึงชวนให้ไปช่วยเขียนภาพที่วัดสุวรรณคีรี คลองบางกอกน้อย โดยมอบหมายให้เขียนลายรดน้ำที่บานประตูหน้าต่างโบสถ์แทนท่านทั้งหมด นายสง่าต้องใช้เวลาเขียนถึงสี่เดือนจึงเสร็จ สง่าได้อุปสมบทที่วัดสุวรรณาราม ธนบุรี เป็นระยะเวลาสองพรรษา ในระหว่างนั้นได้มีโอกาสเข้าไปเขียนภาพรามเกียรติ์ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลป์ไชย) เป็นผู้อำนวยการเขียนภาพ ในเวลาต่อมา เมื่อภาพเขียนที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเกิดชำรุดเสียหาย นายสง่าก็ได้มีโอกาสเข้าไปเขียนซ่อม บางห้องมีภาพชำรุดมากก็เขียนใหม่ทั้งหมดจนสำเร็จ หลังจากลาสิกขาแล้วก็มาตั้งร้านขายเครื่องดื่มที่หลังโรงพยาบาลศิริราช โดยให้บิดาเป็นผู้ขาย ส่วนตนเองไปทำงานประจำที่ร้านคณะช่าง อันเป็นร้านช่างเขียนรับงานเขียนต่าง ๆ และทำบล็อกด้วย ทำงานอยู่ร้านคณะช่างได้สองปีก็ลาออก และไปทำงานที่โรงพิมพ์บุญครอง สง่าสมรสเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสง่า มะยุระ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลสุพรรณบุรี

มสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทยจากจังหวัดสุพรรณบุรี ปัจจุบันแข่งขันอยู่ในไทยลีก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและสโมสรฟุตบอลสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ

หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ (พ.ศ. 2408 — 25 ธันวาคม พ.ศ. 2477) เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดคลองมะดัน จังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและหลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อเนียม

หลวงพ่อเนียม หลวงพ่อเนียม วัดน้อย (พ.ศ. 2372 — 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452) ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่งจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นที่นับถือโดยทั่วไปในด้านปาฏิหาริย์ พระพุทธคุณของท่านมากมายยิ่งนักทั้งในด้านเมตตา มหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด เป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน แม้แต่สมเด็จพระสังฆราช(แพ ติสเทโว) วัดสุทัศน์เทพวราราม หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว หลวงพ่อทับ วัดทอง ยังมีความเคารพนับถือ และมีพระเครื่องของหลวงพ่อเนียมในครอบครอง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและหลวงพ่อเนียม · ดูเพิ่มเติม »

อัมพร แหวนเพชร

อัมพร แหวนเพชร เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงเสียงดี ที่ร้องเพลงช้าได้ดีเป็นพิเศษ เธอมีผลงานออกมาหลายชุดแล้วทั้งในแบบผลงานเดี่ยว และผลงานกลุ่ม โดยมีผลงานเป็นที่รู้จักของแฟนเพลงหลายเพลง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอัมพร แหวนเพชร · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน ขวัญเมือง

ลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ คอลัมนิสต์ อัศวินเมืองกรุง หนังสือพิมพ์เอ็มทูเอฟ, อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจากระดับชั้น ม.3 จากโรงเรียนด่านช้างวิทยา, โรงเรียนตำรวจภูธรภาค 7, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 30 (นรต.30) จบหลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 16 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 45 พล.ต.อ.อัศวิน ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบฝีมือดีคนหนึ่ง เคยผ่านคดีสำคัญ ๆ ระดับชาติมาแล้วหลายคดี อาทิ คดีสังหารนายศุภฤกษ์ เรือนใจมั่น (โจ ด่านช้าง), คดีคาร์บอมบ์รถอดีตนายกรัฐมนตรี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดีจับกุมนายประชา โพธิพิพิธ (กำนันเซี๊ยะ), คดีจับกุมนายนพพล ประสงค์ศิล (จิ๊บ ไผ่เขียว) และคดีวิสามัญฆาตกรรมนายชาญชัย ประสงค์ศิล (โจ๊ก ไผ่เขียว) เป็นต้น ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่อดำรงยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.สุชาติ เหมือนแก้ว รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้ ต่อมาในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษ.10 ในยศพลตำรวจเอก (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทางคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอัศวิน ขวัญเมือง · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอารีย์ วงศ์อารยะ · ดูเพิ่มเติม »

อาทิวราห์ คงมาลัย

อาทิวราห์ คงมาลัย เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นนักร้องนำและนักแต่งเพลงของวงบอดี้สแลม อีกทั้งยังมีศักดิ์เป็นหลานของแอ๊ด คาราบาว และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ ตั๊ก บงกช อีกด้วย อาทิวราห์เข้าประกวดเวทีฮอตเวฟมิวสิคอวอร์ดครั้งที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2539 และเป็นสมาชิกวง ละอ่อน และได้เซ็นสัญญากับทางค่าย มิวสิค บั๊กส์ ก่อนที่สมาชิกบางส่วนในวงได้ไปศึกษาเรียนต่อต่างประเทศ ในเวลาต่อมา อาทิวราห์ และ ธนดล ช้างเสวก, รัฐพล พรรณเชษฐ์ ได้ก่อตั้งวงดนตรีใหม่ชื่อว่า บอดี้แสลม และผลิตผลงานเพลงต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน อาทิวราห์ คงมาลัย ยังเป็นผู้เข้าแข่งขันเทเบิลเทนนิสอย่างต่อเนื่อง และได้รับเชิญให้เป็นทูตกีฬาเทเบิลเทนนิสจากสมาคมเทเบิลเทนนิสแห่งประเทศไทย ด้านชีวิตส่วนตัว อาทิวราห์ปัจจุบันกำลังคบหาดูใจกับนักแสดงสาว ก้อย รัชวิน วงศ์วิริยะ ปัจจุบัน อาทิวราห์ เป็นหัวหน้าโครงการ "ก้าวคนละก้าว" ซึ่งมีเป้าหมายระดมเงินทุนทะลุ 700 ล้านบาทให้แก่โรงพยาบาลศูนย์ 11 แห่งในประเทศไทยด้วยการวิ่งจาก อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จุดใต้สุดของประเทศไทย ไปยัง อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดเหนือสุดของประเทศไทย รวมระยะทาง 2,215.4 กิโลเมตร รวมเวลาการวิ่ง 55 วัน สุดท้ายได้จำนวนเงินเกินเป้าหมาย อยู่ที่ 1,148 ล้านบาท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอาทิวราห์ คงมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรฟูนาน

รัฐฟูนาน (អាណាចក្រនគរភ្នំ ឬ ហ្វូណន) (Phù Nam) เป็นรัฐโบราณที่มีอิทธิพลเหนือดินแดน แห่งลุ่มน้ำแม่โขง แม่น้ำเจ้าพระยา ก่อตั้งขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 กษัตริย์องค์แรกคือพราหมณ์โกณฑิญญะ ซึ่งมีเชื้อสายจากอินเดีย ได้มีมเหสีคือ "นางโสมา".

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอาณาจักรฟูนาน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรศรีวิชัย

อาณาจักรศรีวิชัย หรือ อาณาจักรศรีโพธิ์ เกิดในปี พ.ศ. 1202 (ราวพุทธศตวรรษที่ 13) ก่อตั้งโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันล่มสลาย เป็นอาณาจักรของชาติพันธุ์มลายูโบราณ มีอาณาเขตครอบคลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย พื้นที่อาณาจักรแบ่งได้สามส่วน คือส่วนคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตรา และหมู่เกาะชวา โดยส่วนของชวาได้แยกตัวออกไปตั้งเป็นอาณาจักรมัชปาหิต ต่อมาเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรีวิชัย ได้ดินแดนสุมาตราและบางส่วนของคาบสมุทรมลายูไป และทำให้ศรีวิชัยล่มสลายไปในที่สุด ส่วนพื้นที่คาบสมุทรที่เหลือ ต่อมาเชื้อพระวงศ์จากอาณาจักรเพชรบุรี ได้เสด็จมาฟื้นฟูและตั้งเป็นอาณาจักรนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอาณาจักรศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปลาม้า

อำเภอบางปลาม้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..2440 ตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีนตอนใต้ มีเนื้อที่ 482.954 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอบางปลาม้า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีประจันต์

อำเภอศรีประจันต์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอศรีประจันต์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสองพี่น้อง

อำเภอสองพี่น้อง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอสองพี่น้อง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามชุก

อำเภอสามชุก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นจังหวัดที่เก่าแก่และมีความสำคัญมากแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอสามชุก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองหญ้าไซ

อำเภอหนองหญ้าไซ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอหนองหญ้าไซ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออู่ทอง

อำเภออู่ทอง เป็นอำเภอที่อยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภออู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอนเจดีย์

อนเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอดอนเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอด่านช้าง

อำเภอด่านช้าง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอด่านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุพรรณบุรี

อำเภอเมืองสุพรรณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอเมืองสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเดิมบางนางบวช

อำเภอเดิมบางนางบวช เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอำเภอเดิมบางนางบวช · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพเฉลิมพระเกียรติ บึงฉวาก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอุทยานผักพื้นบ้านเพื่อการยังชีพเฉลิมพระเกียรติ บึงฉวาก · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติพุเตย

นเลาดาแอร์ เที่ยวบินที่ 004 อุทยานแห่งชาติพุเตย เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งเดียวในจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในท้องที่ของอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 85 ของประเทศไทย พุเตย เป็นอุทยานแห่งชาติที่เกิดเหตุการณ์เครื่องบินเลาดาแอร์ เที่ยวบินที่ 004 ประสบอุบัติเหตุตก เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 มีผู้เสียชีวิต 223 คน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอุทยานแห่งชาติพุเตย · ดูเพิ่มเติม »

อดิสรณ์ พึ่งยา

อดิสรณ์ พึ่งยา (ซ้าย) กับ ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน อดิสรณ์ พึ่งยา หรือที่รู้จักกันดีในนามปากกาว่า JACKIE (แจ๊คกี้) เกิดเมื่อวันที่ ที่โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพฯ ใช้ชีวิตจนถึง7ขวบจึงกลับไปอยู่ บ้านเกิดของบิดามารดาที่ บ้านโพธิ์ ต.บ้านกุ่ม อ.สองพี่น้อง.สุพรรณบุรี จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสองพี่น้องวิทยา ปริญญาตรีจากคณะครุศาสตร์ (เอกพลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2535 จากนั้นจึงเริ่มทำงานที่สยามสปอร์ตซินดิเคท ด้วยการแปลข่าวภาษาอังกฤษจากสำนักข่าวรอยเตอร์และเอเอฟพี โดยใช้นามปากกาว่า JACKIE (มาจากชื่อของแจ๊คกี้ ชาร์ลตัน อดีตนักฟุตบอลทีมชาติอังกฤษและลีดส์ ยูไนเต็ด) รวมทั้งเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับฟุตบอลสเปนด้วย ซึ่งยังไม่เป็นที่คุ้นเคยของคนไทยในขณะนั้น ซึ่งทางสยามสปอร์ตฯต้นสังกัดได้ส่งไปเรียนภาษาสเปนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนกระทั่งผ่านไป 4 ปี ทางต้นสังกัดได้ส่งไปเป็นผู้สื่อข่าวประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นเวลา 2 ปี ตามนโยบายของบริษัท โดยทำหน้าที่เป็นผู้สื่อข่าวตามติดวงการฟุตบอลอังกฤษอย่างใกล้ชิด จากนั้นจึงทำหน้าที่ผู้พากย์ที่UBC ก่อนเปลี่ยนTrue Visions ในปี1998 บรรยายคู่กับ ไพโรจน์ กิ่งแก้ว ก่อนเป็นวีรศักดิ์ นิลกลัด ปัจจุบัน อดิสรณ์ พึ่งยา มีตำแหน่งเป็นรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามสปอร์ต บุ๊คส์ จำกัด ในเครือสยามสปอร์ตฯ เป็นผู้ประกาศข่าวกีฬาของทางช่อง 7 ผู้พากษ์ฟุตบอลทางช่อง 7, พิธีกรรายการเจาะสนาม,รายการสปอร์ตแฟนแฟนซ่า กีฬามัน ร่วมกับ บอบู๋ และอีกหลายรายการเกี่ยวกับกีฬา ปัจจุบันเป็นผู้วิเคราะห์ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก ทุกวันเสาร์ ช่องbeIN Sport1 โดยมีทีมฟุตบอลที่เชียร์คือ ลิเวอร์พูล.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอดิสรณ์ พึ่งยา · ดูเพิ่มเติม »

อดิเรก วัฏลีลา

อดิเรก วัฏลีลา หรือ อังเคิล เกิดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและอดิเรก วัฏลีลา · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยนาท

ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จารุวรรณ ปัญโญภาส

รุวรรณ ปัญโญภาส นักแสดงอาวุโส เป็นมารดาของนางเอกชื่อดัง ลลิตา ปัญโญ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและจารุวรรณ ปัญโญภาส · ดูเพิ่มเติม »

ธีรภัทร์ สุวรรณดี

ีรภัทร์ สุวรรณดี (นามเดิม: ธีรภัทร์ แย้มศรี; ชื่อเล่น: หมู) เกิดเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2535 จังหวัดสุพรรณบุรี น้ำหนัก 68 กิโลกรัม ส่วนสูง 180 เซนติเมตร เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและธีรภัทร์ สุวรรณดี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย เล็กกัมพล

งชัย เล็กกัมพล เป็นนักแต่งเพลงลูกทุ่งฝีมือดี มีผลงานฮิต ติดหูคนฟังมากมายหลายสิบเพลงเช่น "ทหารบกพ่ายรัก","ไร่อ้อยคอยรัก", "สัญญาเมื่อสายัณห์", "สัญญา 5 ปี", "ลารักจากสวนแตง", "เสียงครวญจากสวนแตง" ฯลฯ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและธงชัย เล็กกัมพล · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมาลัยแมน

นนมาลัยแมน หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 สายนครปฐม–สุพรรณบุรี เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ไป-กลับ มีจุดเริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 บริเวณสามแยกมาลัยแมน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ผ่านอำเภอกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เข้าสู่เขตจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านอำเภอสองพี่น้อง อำเภออู่ทอง สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางรวม 106.273 กิโลเมตร ถนนมาลัยแมนเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายนครปฐม-สุพรรณบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและถนนมาลัยแมน · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 สายบางบัวทอง–ชัยนาท หรือเรียกกันทั่วไปว่า ถนนบางบัวทอง–สุพรรณบุรี และ ถนนสุพรรณบุรี–ชัยนาท เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชัยนาท ระยะทาง 164.21 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่สามารถไปภาคเหนือได้โดยไม่ต้องผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เดิมชื่อ ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 · ดูเพิ่มเติม »

ทนง พิทยะ

ตราภิชาน ทนง พิทยะ (ชื่อเดิม ทนง ลำใย) (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นบุตรของนายเสงี่ยม กับ นางสายทอง ลำใย และเป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาลพล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ และ รัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 และการลดค่าเงินบาทของประเทศไทยกรรมการมูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา สมรสกับ นาง มธุรส พิทยะ มีบุตร 3 คน ได้แก่ นางสาว วิชชุญา พิทยะ บุตรสาวคนโต นาย ธราธร พิทยะ บุตรชาย นางสาว ศรัญญา พิทยะ บุตรสาวคนเล็ก โดยบุตรสาวคนเล็กเป็นออทิสติก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและทนง พิทยะ · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญชัย สาราคำ

วัญชัย สาราคำ หรือที่รู้จักกันในนาม ขวัญชัย ไพรพนา เป็นประธานชมรมคนรักอุดร และหนึ่งในแนวร่วมคนสำคัญของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือคนเสื้อแดง มีบทบาทปกป้องรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และรัฐบาลอื่น ๆ ที่มีแนวทางเดียวกันมากม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและขวัญชัย สาราคำ · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญจิต ศรีประจันต์

วัญจิต ศรีประจันต์ มีชื่อจริงว่า เกลียว เสร็จกิจ (3 สิงหาคม พ.ศ. 2490 -) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-อีแซว) ปี 2539จากเว็บไซต์หอสมุดแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2561 จากการเป็นแม่เพลงพื้นบ้านภาคกลางที่มีชื่อเสียง เต็มไปด้วยความสามารถในการเล่นเพลงแบบหาตัวจับได้ยาก และเมื่อหันเข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่ง ก็ได้รับความนิยมอย่างสูง มีผลงานเพลงดังมากมาย ในจำนวนนั้นก็เป็นเพลงที่เกิดจากการแต่งของตัวเองด้วยหลายเพลง โดยในการนำเสนอเพลงลูกทุ่ง ขวัญจิต ศรีประจันต์ ก็ได้นำท่วงทำนองเพลงพื้นบ้านภาคกลางเข้ามาผสมผสานอย่างลงตัว.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและขวัญจิต ศรีประจันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนช้างขุนแผน

รื่องขุนช้างขุนแผน เป็นนิทานมหากาพย์พื้นบ้านของไทย เค้าเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้สันนิษฐานว่าเคยเกิดขึ้นจริงในสมัยกรุงศรีอยุธยา แล้วมีผู้จดจำเล่าสืบต่อกันมา เนื่องจากเรื่องราวของขุนช้างขุนแผนมีปรากฏในหนังสือคำให้การชาวกรุงเก่า แต่มีการดัดแปลงเพิ่มเติมจนมีลักษณะคล้ายนิทานเพื่อให้เนื้อเรื่องสนุกสนานชวนติดตามยิ่งขึ้น รายละเอียดในการดำเนินเรื่องยังสะท้อนภาพการดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชาวสยามในครั้งอดีตได้อย่างชัดเจนยิ่ง จนนักภาษาศาสตร์วิลเลียม เกดนีย์ กล่าวว่า "ข้าพเจ้ามักคิดบ่อยๆว่า หากความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยเกิดสูญหายไปหมด ทุกอย่างอาจจะถูกสร้างขึ้นมาได้ใหม่ จากข้อเขียนที่อัศจรรย์นี้" เรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ ถูกสันนิษฐานว่าเป็นการแต่งขึ้นร้องแบบมุขปาถะ (ปากต่อปาก) เพื่อความบันเทิง ในลักษณะเดียวกับมหากาพย์ของยุโรป อย่างเช่นของโฮเมอร์ โดยคงจะเริ่มแต่งตั้งแต่ราวอยุธยาตอนกลาง (ราว พ.ศ. 2143) และมีการเพิ่มเติม หรือตัดทอนเรื่อยมา จนมีรายละเอียดและความยาวอย่างที่สืบทอดกันอยู่ในสมัยอยุธยาตอนปลาย แต่ไม่ได้ถูกบันทึกลงไว้เป็นกิจลักษณะ เนื่องจากบุคคลชั้นสูงสมัยนั้นเห็นว่าเป็นกลอนชาวบ้าน ที่มีเนื้อหาบางตอนหยาบโลน และไม่มีการใช้ฉันทลักษณ์อย่างวิจิตร ดังนั้นเมื่อกรุงศรีอยุธยาถูกเผาทำลายในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและขุนช้างขุนแผน · ดูเพิ่มเติม »

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและข้าว · ดูเพิ่มเติม »

คีรีศักดิ์ บาร์โบส

ีรีศักดิ์ บาร์โบส หรือ คีรี สุขสำราญ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและคีรีศักดิ์ บาร์โบส · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดสามชุก

ตลาดสามชุก เป็นตลาดเก่าแก่ได้รับการประกาศให้เป็นตลาด ๑๐๐ ปี ในเชิงอนุรักษ์ อยู่ริมฝั่งแม่น้ำท่าจีน อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ตลาดสามชุกมีร้านค้าห้องแถวเก่าอายุร่วมร้อยปี ในอดีตมีโรงสีและเป็นแหล่งค้าข้าวที่สำคัญ ซึ่งมีการเก็บภาษีได้มาก และนายอากรคนแรกคือ ขุนจำนงจีนารักษ์ ซึ่งบ้านท่านขุนจำนง ปัจจุบันกลายมาเป็นพิพิธภัณฑ์มีชีวิตของชุมชน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและตลาดสามชุก · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ปภัสรา เตชะไพบูลย์

ร.ปภัสรา เตชะไพบูลย์ มีชื่อเดิมว่า ปภัสรา ชุตานุพงษ์ ชือเล่น กบ เป็นนางงาม นักแสดง พิธีกร เคยเข้าประกวดนางสาวไทยในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและปภัสรา เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ ตันติยาพงศ์

ประกอบ ตันติยาพงศ์ อดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง เกิดวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและประกอบ ตันติยาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประภัตร โพธสุธน

นายประภัตร โพธสุธน อดีตเลขาธิการพรรคชาติไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการในหลายกระทรวง หลายสมั.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและประภัตร โพธสุธน · ดูเพิ่มเติม »

ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ

นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ รองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตประธาน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและปรีชา เอี่ยมสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาม้า

ปลาม้า (Boeseman croaker) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Boesemania microlepis (/บี-ซี-มา-เนีย/ ไม-โคร-เล็พ-อิส/) ในวงศ์ปลาจวด (Sciaenidae) มีรูปร่างเพรียวเล็กไปทางด้านท้ายลำตัว หัวค่อนข้างเล็ก หน้าผากเว้าลึก ตาอยู่สูงไปทางด้านบนของหัว ปากกว้างอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ใต้คางมีรูเล็ก ๆ 5 รู ครีบหลังยาวตลอดส่วนหลัง ตอนหน้าเป็นก้านแข็ง ตอนท้ายเป็นก้านอ่อน โคนหางเรียวเล็ก ครีบก้นมีก้าสนแข็งอันใหญ่หนา ครีบอกยาว ครีบท้องมีปลายเป็นเส้นยาวเช่นเดียวกับครีบหาง เกล็ดมีความเล็กมาก ลำตัวสีเทาอ่อนอ่อนเหลือบเงิน ด้านหลังมีสีคล้ำ ด้านข้างลำตัวมีแถบสีคล้ำจาง ๆ เป็นแนวเฉียงหลายแถบ ด้านท้องสีจาง ครีบใส จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Boesemania มีความประมาณ 25–30 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร อาศัยอยู่ในแม่น้ำขนาดใหญ่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบในแหล่งน้ำนิ่งบ้าง บ่อปลา หรือบ่อกุ้งที่อยู่ใกล้ทะเล พบมากในแม่น้ำตอนล่าง แต่ก็พบในแหล่งน้ำที่ไกลจากปากแม่น้ำมากเช่นกัน พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และในแม่น้ำโขงในภาคอีสานของไทย โดยพบสูงสุดถึงที่จังหวัดเลย ชื่อปลาม้ามาจากการที่มีครีบหลังยาวเหมือนแผงคอของม้า ขณะที่ชื่อในภาษาอีสานเรียกว่า "ปลากวง" พฤติกรรมมักกบดานอยู่นิ่งใต้พื้นน้ำ เมื่อว่ายน้ำจะเชื่องช้า แต่จะรวดเร็วมากเวลาไล่จับเหยื่อ ในธรรมชาติชอบอาศัยในเขตน้ำลึก กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า ปลาม้าเป็นปลาที่มีชื่อเสียงมากของจังหวัดสุพรรณบุรี จนถึงมีอำเภอชื่อ อำเภอบางปลาม้า เพราะความที่ในอดีตเคยชุกชุม เนื่องจากเป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย เป็นที่นิยมมาก มีราคาขายที่สูง และเคยพบมากในบึงบอระเพ็ด แต่สถานภาพในปัจจุบันลดลงมาก อันเนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป และการจับในปริมาณที่มาก ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว ด้วยการฟักไข่ที่ได้จากพ่อแม่ปลาที่เลี้ยงรวมกันในบ่อเลี้ยง และนำลูกปลาที่ได้หลังจากเลี้ยงดูจนโตได้ที่แล้วไปปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ โดยเฉพาะที่เขื่อนกระเสียว ปลาม้ามีฤดูผสมพันธุ์ตลอดปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูหนาวในช่วงต้นปี สามารถส่งเสียงร้องได้ดังระงมเหมือนอึ่งอ่าง เพื่อดึงดูดปลาตัวเมียให้มาผสมพันธุ์ มักจะร้องในช่วงกลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ กระเพาะของปลาม้า ขึ้นชื่อมากในการทำกระเพาะปลา เพราะมีกระเพาะขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถพองลมทำให้เกิดเสียงได้ นอกจากนี้แล้วกระเพาะปลาม้ายังใช้ทำเป็นยางในของรถจักรยานและทำกาวในอดีตอีกด้วย แต่ปลาม้าเป็นปลาที่ตายง่ายมากเมื่อจับพ้นจากน้ำ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและปลาม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปาณิชดา แสงสุวรรณ

ปาณิชดา แสงสุวรรณ เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและปาณิชดา แสงสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะ ตระกูลราษฎร์

ปิยะ ตระกูลราษฎร์ (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนักแสดง นักแต่งเพลง และนักพากย์มวยชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทนำในภาพยนตร์เรื่อง ครูบ้านนอก (2521) และงานแต่งเพลงลูกทุ่ง โดยเฉพาะเพลง "ไก่จ๋า" ปิยะ ตระกูลราษฎร์ เกิดที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่บ้านมีฐานะยากจน จึงจบการศึกษาชั้น ม..5 แล้วมาทำงานอยู่ในกรุงเทพ เคยเป็นลูกศิษย์วัด เป็นช่างตัดผม รับจ้างแบกของในตลาด ขับรถสามล้อถีบ เริ่มเข้าสู่วงการจากการเป็นตัวประกอบภาพยนตร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและปิยะ ตระกูลราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

นภัทร อินทร์ใจเอื้อ

นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (ชื่อเดิม: ชนินทร์ อินทร์ใจเอื้อ; ชื่อเล่น: กัน เป็นนักร้องชาวไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักจากการได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6(2553) และเป็น 1 ใน 3 คนของแก๊งอสรพิษซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันในช่วงแข่งขันรายการเดอะสตาร์และยังคงคบหาสนิทสนมกันจนมาถึงปัจจุบัน อันประกอบไปด้วย ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช, ได้รับรางวัลมณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ดารานำชายดีเด่นยอดนิยมจากผลงานละครเรื่องแรกในชีวิตของเขา"เรือนแพ"(2554), รับบทคุณเปรม(วัยหนุ่ม) ในละครเวทีเรื่อง สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล(2554-2555/2557/2560), รับบทพัดใน ลมหายใจ เดอะมิวสิคัล(2559), ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ แผลเก่า(2557), คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชาย ปี 2558, รางวัล "ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่" เนื่องในวันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2558 คัดเลือกโดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชายปี 2559 และรางวัล เพลงประกอบละครยอดนิยม ขวัญใจมหาชน (เพลง คนไม่สำคัญ ประกอบละครบัลลังก์เมฆ) Maya Awards 2559.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและนภัทร อินทร์ใจเอื้อ · ดูเพิ่มเติม »

นิรมล เมธีสุวกุล

นิรมล เมธีสุวกุล นิรมล เมธีสุวกุล (ชื่อเล่น: นก) อดีตนักข่าว และผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ ปัจจุบันเป็นพิธีกร และผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และโรงเรียนในถิ่นธุรกันดาร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและนิรมล เมธีสุวกุล · ดูเพิ่มเติม »

นที ธีระโรจนพงษ์

นที ธีระโรจนพงษ์ นที ธีระโรจนพงษ์ เป็นผู้ที่เคลื่อนไหวทางการเมืองและสังคมในประเด็นเกี่ยวกับเรื่องบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน ที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยเป็นลูกชายคนสุดท้องของครอบครัวนายเซ่หลี และนางกิม แซ่ตั้ง จบชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดทุ่งคอก (สุวรรณสาธุกิจ) จากนั้นมาต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนกำแพงแสนวิทยา จังหวัดนครปฐม และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนทวีธาภิเศก กรุงเทพมหานคร จบปริญญาตรีด้านเทคนิคการแพทย์ จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจบปริญญาโทด้านเศรษฐศาสตร์การเมือง จากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้วยเกรดเฉลี่ย 4.00 เมื่อเรียนจบปริญญาตรีแล้ว ได้ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่เรียนมาอยู่เพียง 5 ปีเท่านั้น จากนั้นก็ไปเรียนต่อทางด้านแจ๊ซแดนซ์ ที่เมืองบอสตัน สหรัฐอเมริกา กลับมาพำนักที่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยตั้งกลุ่มคณะนักแสดงเผยแพร่แจ๊ซแดนซ์ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในนามของ "กลุ่มเส้นสีขาว" ในฐานะนักแสดงนำและรณรงค์เรื่องโรคเอดส์ ในปี พ.ศ. 2547 ได้ตั้งกลุ่มเกย์การเมืองไทย โดยดำรงตำแหน่งเป็นประธาน เพื่อผลักดันกลุ่มคนรักเพศเดียวกันเข้าสู่กิจกรรมทางการเมือง ซึ่งบทบาทของนทีมักจะเป็นผู้ที่ออกมาให้ความเห็นหรือเคลื่อนไหวเกี่ยวกับประเด็นทางเพศหรือประเด็นของบุคคลเพศที่สามอยู่บ่อย ๆ ซึ่งก็มีผู้วิพากษ์วิจารณ์อยู่บ่อย ๆ บ้างก็ตั้งข้อสังเกตว่าทำไปเพราะอยากดังหรือเปล่า ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อปี พ.ศ. 2549 ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้เบอร์ 14 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ปัจจุบัน เป็นผู้เสนอแนวความคิดเรื่อง "กุลเกย์" ออกสู่สังคม โดยมีความหมายถึง การให้บุคคลที่เป็นเกย์หรือกะเทย มีบุคลิกเรียบร้อย ไม่ก้าวร้าวไม่หยาบคาย เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว เป็นบุคคลที่ยอมรับว่าตัวเองเป็นบุคคลเพศที่สามมาตั้งแต่เด็ก ๆ โดยเรียกตัวเองว่า "เกย์นที" ปัจจุบันพำนักอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเจ้าตัวให้เหตุผลว่าชื่นชอบในวัฒนธรรมแบบล้านนา โดยใช้ชีวิตอยู่กับคนรักซึ่งเป็นผู้ชายมาแล้วนานกว่า 20 ปี และมีตำแหน่งเป็นเลขานุการของกลุ่มเชียงใหม่อารยะด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและนที ธีระโรจนพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐ

โมนาโก ถือเป็นนครรัฐแห่งหนึ่ง นครรัฐ (city state) คือภูมิภาคที่ควบคุมโดยสมบูรณ์โดยเมืองเพียงเมืองเดียว ส่วนใหญ่จะมีเอกราช โดยประวัติศาสตร์แล้ว นครรัฐมักจะเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ใหญ่กว่า ดังเช่นนครรัฐในกรีกโบราณ (เช่น เอเธนส์ สปาร์ตา และโครินธ์) เมืองในเอเชียกลางตามเส้นทางสายไหม นครรัฐในอิตาลีเหนือ (โดยเฉพาะ ฟลอเรนซ์และเวนิซ) ปัจจุบันประเทศที่เป็นนครรัฐมีอยู่ทั้งหมด 3 ประเทศ คือ สาธารณรัฐสิงคโปร์, ราชรัฐโมนาโก และนครรัฐวาติกัน แต่บางแห่งก็ถูกจัดว่าเป็นนครรัฐด้วย อาทิ สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐซานมารีโนMogens, Hansen.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและนครรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า "แม่น้ำท่าจีน".

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและแม่น้ำท่าจีน · ดูเพิ่มเติม »

แจ่มใส ศิลปอาชา

ณหญิง แจ่มใส ศิลปอาชา เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่ตำบลท่าพี่เลี้ยง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรของ นายหงวน เลขวัต และนางทับทิม เลขวัต เป็นบุตรคนสุดท้องมีพี่ชายอีก 1 คน สมรสกับนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย มีบุตร-ธิดารวม 3 คน เป็นชาย 1 คน คือ นายวราวุธ ศิลปอาชา (สมรสกับ เก๋ - สุวรรณา ไรวินท์ ทายาทตระกูลไรวินท์ เจ้าของธุรกิจ ซุปไก่ก้อนรีวอง) และเป็นหญิง 2 คน คือ น.ส. กัญจนา ศิลปอาชา และ น..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและแจ่มใส ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

แจ้ง คล้ายสีทอง

รูปงาน “แปดทศวรรษ ครูสุดจิตต์ ดุริยประณีต” ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๖ ณ บริเวณ สวนสันติชัยปราการ หัวมุมถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ครูแจ้ง คล้ายสีทอง เป็นศิลปินแห่งชาติ มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงไทย และขับเสภา หนึ่งในตำนานศิลปินพื้นบ้านของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและแจ้ง คล้ายสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

โบราณวัตถุ

ราณวัตถุ เป็นสังหาริมทรัพย์ที่เป็นของโบราณไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือที่เป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของโบราณสถาน ซากมนุษย์ หรือซากสัตว์ ซึ่งโดยอายุ หรือโดยลักษณะแห่งการประดิษฐ์หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของสังหาริมทรัพย์นั้นเป็นประโยชน์ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและโบราณวัตถุ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อย

น้อยในประเทศเบลเยียม โบสถ์น้อย หรือ วัดน้อย (chapel) เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่างๆ ตั้งแต่ใหญ่ขนาดมหาวิหารย่อย ๆ ไปจนถึงโบสถ์น้อยเล็ก ๆ ข้างทาง เช่นเดียวกับถ้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างขนาดก็ขึ้นอยู่กับฐานะของผู้สร้าง โบสถ์น้อยที่เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร, โบสถ์ใหญ่ ๆ, ปราสาท, วัง, คฤหาสน์, วิทยาลัย, โรงพยาบาล คุก หรือสุสาน บางครั้งโบสถ์น้อยที่สร้างในมหาวิหารจะสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น "โบสถ์น้อยแม่พระ" ที่มักจะสร้างเป็นโบสถ์น้อยที่อยู่ทางตะวันออกสุดของโบสถ์ หรือ "โบสถ์น้อยศีลศักดิ์สิทธิ์" ที่ตั้งติดกับโบสถ์และใช้เป็นที่เก็บไวน์ และขนมปังที่ใช้ในพิธีศีลมหาสนิท ถ้าโบสถ์น้อยมีขนาดค่อนข้างเล็กที่สร้างเป็นคูหาภายในทางด้านข้างหรือทางด้านหลังของมหาวิหารหรือโบสถ์ก็อาจจะเรียกว่า "คูหาสวดมนต์" ความหมายเป็นนัยยะของโบสถ์น้อยคือเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลไม่ใช่สถาบันศาสนา เช่น โบสถ์น้อยของปราสาท หรือโบสถ์น้อยส่วนตัวภายในมหาวิหารเป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและโบสถ์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17

รงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 165 ถนนบางลี่ - หนองวัลย์เปรียง ตำบลสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ห่างจากตัวจังหวัด 35 กิโลเมตร โดยประมาณ มีเนื้อที่ 60 ไร่ มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ: ติดกับถนนสายบางลี่-หนองวัลย์เปรียงตรงข้ามหน้าโรงเรียนบางลี่วิทยา ทิศใต้: ติดกับแปลงทำนาของชาวบ้าน ทิศตะวันออก: ติดกับที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขสองพี่น้อง อยู่ห่างจากตลาดบางลี่ประมาณ 1 กิโลเมตร ทิศตะวันตก: ติดกับชุมสายโทรศัพท์อำเภอสองพี่น้อง โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

รงพยาบาลเจ้าพระยายมราช เป็นโรงพยาบาลศูนย์ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ขนาด 634 เตียง เปิดดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2469 ชื่อของโรงพยาบาลมาจากชื่อของ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ผู้บริจาคเงินสร้างโรงพยาบาล โดยตั้งติดกับบ้านยะมะรัชโช บ้านของท่านเจ้าพระยายมร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช · ดูเพิ่มเติม »

โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

รงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีนโยบายขยายการศึกษาไปยังท้องถิ่นในภูมิภาคต่างๆ ประกอบกับคณะรัฐมนตรี ได้มีมติอนุมัติหลักการขยายวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยของรัฐในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ปัจจุบันมีสถานะเป็นโครงการจัดตั้งวิทยาเขต สังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ คุ้มฉายา

ลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2498) เป็นองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม,รองประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตร พันธสัญญาที่เป็นธรรม, ประธานกรรมการศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ, หัวหน้าฝ่ายกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของ คสช.และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด, ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, แม่ทัพภาคที่ 1, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และอดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระอง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและไพบูลย์ คุ้มฉายา · ดูเพิ่มเติม »

ไกวัล วัฒนไกร

กวัล วัฒนไกร เกิดวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2494 เป็นนักพากย์การ์ตูนที่มีชื่อเสียงและมีประสบการณ์สูงคนหนึ่งในประเทศไทย เป็นเจ้าของเสียงพากย์พระเอกประจำทีมพากย์ วิดิโอสแควร์ ไกวัลทำงานเป็นนักพากย์การ์ตูนและภาพยนตร์มามากกว่า 20 ปี พากย์เสียงให้กับบริษัทการ์ตูนในประเทศไทยหลายบริษัท เช่น ช่อง 9 อ..ม.ท. (โมเดิร์นไนน์ทีวี), ไทก้า, เด็กซ์, อามีโก้ และ โรสแอนิเมชั่น ปัจจุบันยังมีผลงานพากย์ทั้งการ์ตูนและโทคุซัทสึที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและไกวัล วัฒนไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไวพจน์ เพชรสุพรรณ

วพจน์ เพชรสุพรรณ เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชื่อดังระดับตำนานของประเทศไทย และอยู่ในวงการมานานหลายสิบปี โดยสร้างผลงานเพลงออกมามากมายนับไม่ถ้วน จวบจนถึงปัจจุบันก็ยังคงผลิตผลงานเพลงออกมาอย่างต่อเนื่อง ในจำนวนนั้นเป็นเพลงดังที่ฮิตติดหูมากมาย นอกจากนั้นก็ยังมีความเชี่ยวชาญด้านเพลงพื้นเมืองภาคกลางชนิดหาตัวจับได้ยาก และได้สร้างผลงานเพลงประเภทนี้ออกมามากกว่าศิลปินเพลงพื้นบ้านคนใด ไวพจน์ เพชรสุพรรณยังมีความสามารถด้านการแต่งเพลง และได้แต่งเพลงดังให้กับนักร้องหลายคน ทั้งยังได้ชื่อว่าเป็นผู้สร้างราชินีลูกทุ่งคนที่ 2 คือ พุ่มพวง ดวงจันทร์ ขึ้นมาประดับวงการเพลงเมืองไทยด้วย ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ได้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้องเพลงลูกทุ่ง) เมื่อปี พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและไวพจน์ เพชรสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ไสว วงษ์งาม

ว วงษ์งาม มีชื่อจริงว่า ไสว สุวรรณประทีป ศิลปินพื้นบ้าน เพลงอีแซว ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินพื้นบ้าน (สาขาเพลงพื้นบ้านภาคกลาง) จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและไสว วงษ์งาม · ดูเพิ่มเติม »

เบญจวรรณ วนิชจิวพันธ์

ญจวรรณ วนิชจิวพันธ์ เป็นนักพากย์ชาวไทย เป็นชาวสุพรรณบุรีโดยกำเนิด ผ่านการอบรมจากสมาคมนักพากย์แห่งประเทศไทย และมีชื่อจากบทบาทยุย ฮิราซาวะ (Yui Hirasawa) ใน เค-อง! (K-On!), คิริโนะ โคซะกะ (Kirino Kōsaka) ใน โอะเระอิโมะ (Oreimo) และคิม บย็อล (Kim Byeol) ใน ป๊ะป๋าขาโจ๋ โอ๊ะโอ๋เบบี้ (Baby & Me) ปัจจุบัน ทำงานประจำอยู่ที่เอ็ม พิคเจอร์ส กับโรส และทำงานให้แก่บริษัทอื่นบ้าง เช่น เดกซ์, แอนิแมกซ์, โมเดิร์นไนน์ทีวี และเคยพากย์ในทีมพากย์อินทรีมาก่อน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเบญจวรรณ วนิชจิวพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ มณีวงษ์

รองศาสตราจารย์ เชาวน์ มณีวงษ์ อดีตหัวหน้าพรรคพลังชล และอดีตรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน และเป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเชาวน์ มณีวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวง

มืองหลวง หรือ ราชธานี คือ เมืองหลักที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล คำในภาษาอังกฤษ capital มาจากภาษาละติน caput หมายถึง "หัว" และอาจเกี่ยวข้อง เนินเขาแคปิทอไลน์ เนินเขาที่สูงที่สุดในโรมโบราณ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และศาสนา ในภาษาไทย มีหลายคำที่ใช้ในความหมายนี้ เช่น กรุง หรือ พระนคร สำหรับคำว่าเมืองหลวงนั้นยังก็มีความหมายเป็นสองนัย กล่าวคือ หมายถึงเมืองใหญ่ (หลวง หมายถึง ใหญ่) หรือเมืองของหลวง (คือเมืองของพระเจ้าแผ่นดิน, เพราะเป็นที่ประทับของกษัตริย์) เมืองหลวงในบางประเทศ มีขนาดเล็กกว่าเมืองอื่น เช่นใน สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล สำหรับคำว่าเมืองหลวงนี้ อาจเป็นเมืองหลวงของรัฐ (ในประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ เป็นต้น) หรือเมืองหลวงของเขตการปกครองระดับใดๆ ก็ได้ เช่น อำเภอเมือง เปรียบเหมือนเป็นเมืองหลวงของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์

รวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์ นักเขียนชาวไทย ได้รับรางวัลซีไรต์จากเรื่องแม่น้ำรำลึก เป็นชาว ตำบลวังลึก อ.สามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเรวัตร์ พันธุ์พิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสรี รุ่งสว่าง

นาย เสรีย์ รุ่งสว่าง เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งจากอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี มีชื่อเสียงจากเพลง "จดหมายจากแม่", "เทพธิดาผ้าซิ่น", "ไอ้หนุ่มรถซุง" และ "เรียกพี่ได้ไหม" ที่แต่งโดย ชลธี ธารทอง เคยได้รับรางวัลจากงานกึ่งศตวรรษลูกทุ่งไทยเพลง "ไม้เรียว" และ "เทพธิดาผ้าซิ่น" ผลงานของครูชลธี ธารทอง เสรีย์ รุ่งสว่าง จบการศึกษาเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แล้วประกอบอาชีพกรรมการรับจ้างทั่วไป และได้รับการชักชวนจากครูสัมฤทธิ์ รุ่งโรจน์ และเอื้อ อารี ให้มาเป็นนักร้อง โดยเริ่มมีชื่อเสียงจากเพลง “จดหมายจากแม่” แต่งโดยชลธี ธารทอง จากการผลักดันของประจวบ จำปาทอง เสรีย์ รุ่งสว่างเป็นเพื่อนสนิทกับยอดรัก สลักใจ เป็นผู้ออกมาปกป้อง จนทำให้มีเรื่องวิวาทกับสายัณห์ สัญญา กรณีกล่าวหาว่ายอดรัก สลักใจไม่ได้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง ภายหลังเมื่อยอดรัก สลักใจเสียชีวิต ก็ได้อุปสมบทเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเสรี รุ่งสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

เสือฝ้าย

ือฝ้าย มีชื่อจริงว่า ฝ้าย เพ็ชนะ เป็นชาวอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นจอมโจรชื่อดังในแถบภาคกลางหลังยุคสงครามโลกครั้งที่สอง ร่วมสมัยกับ เสือดำ เสือใบ เสือหวัด และเสือมเหศวร ได้รับสมญาว่า "พ่อเสือ" บ้าง "จอมพลเสือฝ้าย" บ้าง "ครูฝ้าย" บ้าง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเสือฝ้าย · ดูเพิ่มเติม »

เสือดำ

ือจากัวร์ที่เป็นเสือดำ เสือดำตัวผู้ในอุทยานแห่งชาตินาการาโฮเล ประเทศอินเดีย เสือดำ เป็นชื่อสามัญเรียกโดยรวมของสัตว์กินเนื้อประเภทเสือและแมว (Felidae) ที่มีลักษณะลำตัวรวมถึงลวดลายเป็นสีดำตลอดทั้งลำตัว ซึ่งเกิดขึ้นได้ในเสือหลายชนิด จากการเป็นเสือดำ เกิดจากความผิดปกติในเม็ดสีที่เรียกว่าเมลานิซึม ส่งผลให้เสือที่เกิดมานั้นเป็นสีดำตลอดทั้งลำตัว โดยที่ยังมีลายหรือลายจุดคงอยู่ แต่จะสังเกตเห็นได้ยาก จะเห็นได้ชัดเจนเมื่ออยู่ในแสงแดด เสือดำในเสือดาว มักพบได้มากในป่าดิบชื้นในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, เนปาล, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในเบงกอลหรือชวา ใต้ท้องของเสือดำมีสีจางเล็กน้อย ผิวสีดำของเสือดำไม่ได้มีสีดำสนิท และยังคงมีลายแบบเสือดาวอยู่ด้วยซึ่งจะเห็นชัดเวลาต้องแสงแดด ซึ่งในภาษาลาวเรียกว่า "เสือแมลงภู่" หรือ "เสือลายจ้ำหลอด" เสือดำในประเทศไทยพบได้มากในป่าภาคใต้ โดยแม่เสือดาวหนึ่งตัวจะให้ลูกที่เป็นเสือดำในอัตรา 3/1 แต่ทั้งนี้ลูกเสือที่เป็นเสือดำมักจะอยู่อย่างโดดเดี่ยว ไม่รวมกลุ่มหรือรวมฝูงหรือเดินร่วมกับเสือดาว จึงทำให้อ่อนแอและเป็นจุดอ่อนเพราะมีอัตราการรอดตายน้อยกว่าเสือดาว เสือดำจึงเป็นเสือที่พบได้น้อยกว่าเสือดาว และจากประสบการณ์ของผู้ที่เลี้ยงดูแลเสือในสวนสัตว์มีความเห็นว่า เสือดำนั้นมีความดุร้ายกว่าเสือดาวหน้า 201-213, สัตว์ป่าน่ารู้ โดย พัชรินทร์ ธรรมร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเสือดำ · ดูเพิ่มเติม »

เสือใบ

ือใบ (22 สิงหาคม พ.ศ. 2464 – 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) มีชื่อจริงว่า ใบ สะอาดดี เป็นชาวจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นจอมโจรชื่อดังในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่โด่งดัง ร่วมสมัยกับ เสือดำ, เสือหวัด, เสือฝ้าย, เสือมเหศวร โดยเวลาออกปล้นจะแต่งชุดสีดำ สวมหมวกดำ และปล้นด้วยความสุภาพ จนได้รับฉายาว่า สุภาพบุรุษเสือใบ และในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ยังได้เข้าร่วมกับขบวนการไทยถีบ ดักปล้นและถีบสินค้าหรืออาวุธของทางทหารญี่ปุ่นจากขบวนตู้รถไฟด้วย เสือใบ ได้กลายเป็นจอมโจรที่มีชื่อเสียงในราวปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเสือใบ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง การประปานครหลวง การไฟฟ้ามหานคร ถนนและสะพานในกรุงเทพมหานครอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลบ้านกร่าง

ทศบาลตำบลบ้านกร่างตำบลบ้านกร่าง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอศรีประจันต์ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร สภาพพื้นที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นที่ตั้งของ หมู่ที่ 1 ส่วนที่ 2 เป็นที่ตั้ง ของหมู่ที่ 2 – 6 โดยมีพื้นที่ ของเทศบาลตำบลศรีประจันต์กั้นกลาง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลบ้านกร่าง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลวังยาง

ทศบาลตำบลวังยาง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลวังยาง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลสระยายโสม

ทศบาลตำบลสระยายโสม เป็นเทศบาลแห่งหนึ่งใน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีพื้นที่ 1.96 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บางส่วน ของ 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1,3 และ 4 ของตำบลสระยายโสมซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภออู่ทอง สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม สภาพพื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูกโดยเฉพาะข้าวและอ้อ.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลสระยายโสม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลอู่ทอง

ทศบาลตำบลอู่ทอง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ถูกยกฐานะเป็นเทศบาลตำบลเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีจำนวนประชากร 8,237 คน โดยเป็นเพศชาย 3,908 คน เพศหญิง 4,845 คน มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 3,405 ครัวเรือน ในพื้นที่เพียง 1.7 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น ทำให้เทศบาลตำบลอู่ทองมีความหนาแน่นประชากรถึง 4,845 คนต่อตารางกิโลเมตร นับเป็นชุมชนเทศบาลที่มีความหนาแน่นมากที่สุดในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลอู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลจรเข้สามพัน

ทศบาลตำบลจรเข้สามพัน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลจรเข้สามพันทั้งตำบล ถูกจัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลจรเข้สามพัน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง

ทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ถูกจัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโพธิ์พระยา

ทศบาลตำบลโพธิ์พระยา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ตอนเหนือของอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี มีพื้นที่ 6.25 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลโพธิ์พระยา ได้แก่ หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 6, และหมู่ที่ 7 และมีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลตำบลโพธิ์พระยา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองสองพี่น้อง

ทศบาลเมืองสองพี่น้อง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมืองในอำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีพื้นที่ 10.40 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสองพี่น้องทั้งตำบล และมีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลเมืองสองพี่น้อง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี

ทศบาลเมืองสุพรรณบุรี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จั้งตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เทิดศักดิ์ ใจมั่น

ทิดศักดิ์ ใจมั่น เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2516 เป็นนักฟุตบอลชาวไทยเล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรุก ปัจจุบันได้เลิกเล่นฟุตบอลอาชีพแล้วโดยสโมสรสุดท้ายที่เขาค้าแข้งด้วยคือ สโมสรฟุตบอลชลบุรี เทิดศักดิ์เป็นนักเตะที่ยิงฟรีคิกและยิงลูกโทษได้ดี และสามารถใช้เท้าได้ทั้ง 2 ข้าง และเป็นหนึ่งในนักฟุตบอลชาวไทยที่ได้เข้าชิงชนะเลิศในศึก เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ในปี พ.ศ. 2546 ระหว่าง สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน กับ สโมสรฟุตบอลอัลไอน.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเทิดศักดิ์ ใจมั่น · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนกระเสียว

ื่อนกระเสียว เป็นเขื่อนดินที่ยาวเป็นอันดับสองของประเทศไทย (เขื่อนดินที่ยาวที่สุดคือ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์) กั้นลำห้วยกระเสียวตั้งอยู่ที่ บ้านนาตาปิ่น หมู่ที่ 3 ตำบลด่านช้าง อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว กรมชลประทาน สันเขื่อนกระเสียว และระดับน้ำช่วงเดือนมกราคม 2556.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเขื่อนกระเสียว · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เด่นชัย สายสุพรรณ

นชัย สายสุพรรณ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายชาวสุพรรณที่สร้างนักร้องลูกทุ่งชื่อดังมามากมาย เด่นชัยอยู่ในวงการเพลงมานานกว่า 20 ปี มีผลงานเพลงดังมากม.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเด่นชัย สายสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เปาวลี พรพิมล

ปาวลี พรพิมล หรือ พรพิมล เฟื่องฟุ้ง นักร้องลูกทุ่งและนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงมากจากภาพยนตร์ เรื่อง พุ่มพวง โดยรับบทเป็น พุ่มพวง ดวงจันทร์ เกิดวันพฤหัสบดีที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2535 บ้านเกิดอยู่ที่ อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดสุพรรณบุรีและเปาวลี พรพิมล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Suphanburiสุพรรณบุรีผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรีจ.สุพรรณบุรี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »