โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดยโสธร

ดัชนี จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

129 ความสัมพันธ์: บัวขมบุญบั้งไฟบุญแก้ว สมวงศ์พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2544พ.ศ. 2552พ.ศ. 2555พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราชพระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย)พระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย)พิชิตพงษ์ เฉยฉิวพีรพันธุ์ พาลุสุขกระบากกรุงเทพมหานครภาคอีสาน (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาเถรสมาคมมนต์แคน แก่นคูนยาว ลูกหยียางนาระพินทร์ พุฒิชาติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดยโสธรรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดยโสธรรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดยโสธรรณ ฤทธิชัยวัดพุทธบูชาวัดมหาธาตุวัดศรีธรรมารามวัดปทุมวนารามราชวรวิหารวัดป่าสุนทรารามวัดโสมนัสราชวรวิหารวิทยาลัยชุมชนยโสธรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือวิฑูรย์ วงษ์ไกรศิลปินแห่งชาติสถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟอุบลราชธานีสนามบินเลิงนกทาสโมสรฟุตบอลยโสธรหมู่บ้านหม่ำ จ๊กมกหลวงปู่บุญมี ปริปุณโณหลวงปู่เพียร วิริโยอำเภออำเภอชานุมานอำเภอพิบูลมังสาหาร...อำเภอพนมไพรอำเภอกุดชุมอำเภอมหาชนะชัยอำเภอยางชุมน้อยอำเภอราษีไศลอำเภอวารินชำราบอำเภอศิลาลาดอำเภอหัวตะพานอำเภอหนองพอกอำเภอหนองสูงอำเภอทรายมูลอำเภอดอนตาลอำเภอคำเขื่อนแก้วอำเภอค้อวังอำเภอป่าติ้วอำเภอนิคมคำสร้อยอำเภอโขงเจียมอำเภอไทยเจริญอำเภอเมืองยโสธรอำเภอเมืองอำนาจเจริญอำเภอเมืองอุบลราชธานีอำเภอเลิงนกทาอำเภอเสลภูมิอำเภอเสนางคนิคมอำเภอเขื่องในอุดร ทองน้อยองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมุกดาหารจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสระบุรีจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุดรธานีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครราชสีมาธาตุก่องข้าวน้อยถนอม กิตติขจรถนนพหลโยธินถนนมิตรภาพถนนแจ้งสนิททางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานีท้าวดักแด้ข้าวหอมมะลิณิรัฐกานต์ ศรีลาภดาว บ้านดอนคำพูน บุญทวีตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลประเทศไทยปลาชะโอนปลาส้มปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อปิยะชาติ ถามะพันธ์แม่น้ำชีโรงเรียนกู่จานวิทยาคมโรงเรียนยโสธรพิทยาคมโรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์โรงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยาคมโรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์โรงเรียนเลิงนกทาไผ่ พงศธรเชียงรุ่งเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เจ้าพระตาเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)เจ้าปางคำเทศบาลตำบลเทศบาลตำบลสำราญเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองยโสธร ขยายดัชนี (79 มากกว่า) »

บัวขม

ัวขม L. var.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและบัวขม · ดูเพิ่มเติม »

บุญบั้งไฟ

ญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทานพื้นบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมีความชื่นชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมู่บ้านใดไม่จัดทำการจัดงานบุญบั้งไฟบูชา ฝนก็จะไม่ตกถูกต้องตามฤดูกาล อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติกับหมู่บ้านได้ โดยทั้งนี้การจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ของ จังหวัดยโสธร ได้รับการสนับสนุนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในการประชาสัมพันธ์งานประเพณี เป็นที่รู้จักแก่ชาวไทย และต่างประเทศ นับแต่ ปี 2523 ซึ่ง งานประเพณีบุญบั้งไฟจังหวัดยโสธร จะจัดขึ้นในวันเสาร์ อาทิตย์ สัปดาห์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม ในทุกปี โดยทั้งนี้ ในงานที่จัดของจังหวัดยโสธร ยังมีความโดดเด่น ในวันก่อนแห่ มีการประกวดกองเชียร์ จำนวนมาก รวมทั้ง วันแห่บั้งไฟ จะมีขบวนบั้งไฟแบบโบราณ และการรำเซิ้งแบบโบราณ จาก ทั้ง 9 อำเภอของจังหวัดยโสธร เข้าร่วมด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่า การจัดงานบั้งไฟในอดีต และปัจจุบัน ในพื้นที่ จังหวัดร้อยเอ็ด มีความโดดเด่น และเก่าแก่ มานาน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะ ที่ อำเภอสุวรรณภูมิ ที่มีการจัดงาน ในทุกวันเสาร์ อาทิตย์ ในสัปดาห์แรก ของเดือนมิถุนายนในทุกปี ซึ่งเป็นงานที่มี บั้งไฟเอ้สวยงามขนาดใหญ่มากที่สุด (ลายศรีภูมิ หรือ ลายกรรไกรตัด) รวมทั้งขบวนรำสวยงามมากที่สุดของประเทศ, อำเภอพนมไพร ที่ มีการจัดงาน ในทุกวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ของทุกปี ตามรูปแบบประเพณีดั้งเดิม ตาม ฮีตสองสอง คองสิบสี่ โดยมีการจุดบั้งไฟถวาย มากที่สุดในประเทศ โดยในแต่ละปี จะมีบั้งไฟหมื่น บั้งไฟแสน บั้งไฟล้าน รวมกันกว่า 1,000 บั้ง ทั้งนี้ จากข้อมูลในปัจจุบัน แหล่งที่มีช่างในการจัดทำ บั้งไฟเอ้ ตกแต่งสวยงามมากที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยเฉพาะ อำเภอเสลภูมิ, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตร์พิมาน เป็นต้น, ส่วนค่ายบั้งไฟ ที่มีการทำบั้งไฟจุด พบได้จำนวนมาก ในเขตอำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด, อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และ เขตจังหวัดอื่น ๆ ทางอีสานเหนือ ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เป็นต้น นอกจากนี้แล้วในพื้นที่ภาคเหนือ มีการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ของ ตำบลพุเตย อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดงานประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ โดยการสนับสนุนของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ เช่นกัน ทั้งนี้ เนื่องจากประชากรในเขตพื้นที่ ส่วนใหญ่ อพยพมาจาก เขตภาคอีสาน ในหลายสิบปีก่อนหน้า ส่วนภาคใต้ ยังสามารถพบการจัดงานบุญบั้งไฟ ในเขตอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยเป็นการละเล่นของชาวอีสานที่ย้ายถิ่นฐานมาปักหลักทีนี่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและบุญบั้งไฟ · ดูเพิ่มเติม »

บุญแก้ว สมวงศ์

นายบุญแก้ว สมวงศ์ (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2512) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและบุญแก้ว สมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช

'''"ธาตุหลวงเฒ่า"''' เจดีย์บรรจุอัฐิธาตุของพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (ท้าวฝ่ายหน้า หรือ เจ้าหน้า) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ลำดับที่ 3 ที่วัดเหนือในเมืองเก่าคันเกิง แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (เรียกกันทั่วไปในเอกสารต่างๆ ว่า "พระวิไชยราชขัติยวงศา") เป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ ลำดับที่ 3 (พ.ศ. 2335 - 2354).

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย)

ระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย) (นามเดิม:อมร มลาวรรณ) เป็นพระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม รองเจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต) และผู้ช่วยแม่กองธรรมสนามหลวง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย)

ระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา) เจ้าเมืองหนองคายคนแรก อดีตบรรดาศักดิ์ที่ ท้าวสุวอธรรมา กรมการเมืองยโสธร (เมืองยศสุนทร) ต่อมาเลื่อนยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เมืองยโสธรเป็นที่ พระอุปฮาต เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ หนอง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย) · ดูเพิ่มเติม »

พิชิตพงษ์ เฉยฉิว

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพิชิตพงษ์ เฉยฉิว · ดูเพิ่มเติม »

พีรพันธุ์ พาลุสุข

ีรพันธุ์ พาลุสุข (10 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 30 เมษายน พ.ศ. 2557) อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แล้วได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อไทย เมื่อตอนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและพีรพันธุ์ พาลุสุข · ดูเพิ่มเติม »

กระบาก

กระบาก เป็นไม้ยืนต้นสูง 5–25 เมตร เปลือกขรุขระสีเทา ตามกิ่งมีช่องอากาศเป็นจุด ๆ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก รูปไข่แกมรูปหอกปลายใบแหลม ขอบใบหยักเว้าหรือหยักกลม ๆ เรียบ โคนใบกลม มีต่อมขนอยู่ตรงมุมระหว่างเส้นกลางใบและเส้นใบ ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตั้งตรง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นท่อเล็ก ๆ ปลายแยกออกเป็น 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้มี 4 อัน ยาว 2 อัน สั้น 2 อัน ติดอยู่บนกลีบใกล้ปลายที่แยกออก ผลเป็นฝัก เมล็ดมีปีก ในประเทศไทยพบในป่าเบญจพรรณทางภาคตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและกระบาก · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและมหาเถรสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

มนต์แคน แก่นคูน

มนต์แคน แก่นคูณ นักร้องเพลงลูกทุ่งหมอลำชายชาวไทย สังกัดค่าย แกรมมี่โกลด์ ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เจ้าของฉายาบ่าวเสียงสุดสะแนน เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง ยังคอยที่ซอยเดิม,ยามท้อขอโทรหา,สร้างฝันด้วยกันบ่,อ้ายฮักเจ้าเด้อ,โรงงานปิดคิดฮอดน้อง,ยังฮักคือเก่า,ชีวิตเพื่อชาติ หัวใจเพื่อเธอ,ฝันอีกครึ่งต้องพึ่งเธอ,ตรงนั้นคือหน้าที่ ตรงนี้คือหัวใจ,อ้ายบ่แม่นเขา,ให้เขาไปหรือให้อ้ายเจ็บ ฯลฯ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและมนต์แคน แก่นคูน · ดูเพิ่มเติม »

ยาว ลูกหยี

ันต์ ไชยมาตร หรือ ยาว ลูกหยี เป็นนักแสดง และดาราตลกชาวไทย เข้าวงการครั้งแรกด้วยการชักนำของ “หม่ำ จ๊กมก” ในฐานะคนบ้านเดียวกัน ตั้งแต่ปี 2540 และด้วยความสามารถเฉพาะตัว ซึ่งมี “เอกลักษณ์” ทำให้เขาโด่งดังขึ้นมาตามลำดับ กระทั่งปัจจุบันสามารถขึ้นแท่น “หัวหน้า” มีคณะตลกเป็นของตัวเองแล้ว โดยเขาเป็นที่รู้จักจากการเลียนเสียงเป็น "สุทธิชัย หยุ่น" และมักได้รับบทเป็นผู้ประกาศข่าว โฆษก หรือพิธีกร อยู่เสมอ ผลงานที่ผ่านมาของเขา ได้แก่ ภาพยนตร์เรื่อง แหยมยโสธร 2, Delivery Sexy Love, ผีหัวขาด, ช้างเพื่อนแก้ว, สุภาพบุรุษปีนป่าย, เสน่ห์ลูกทุ่ง, ภพเสน่หา, คนปีมะ, ปัญญาเรณู, "ชิป"หาย และ กรรไกร ไข่ ผ้าไหม สองบาทห้.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและยาว ลูกหยี · ดูเพิ่มเติม »

ยางนา

งนา เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อน สูงถึง 40-50 เมตร ในพบในประเทศไทย, กัมพูชา, ลาว และเวียดนาม นอกจากนี้ ยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีก คือ กาตีล (เขมร ปราจีนบุรี) ขะยาง (ชาวบน นครราชสีมา) จ้อง (กะเหรี่ยง) จะเตียล (เขมร) ชันนา (ชุมพร) ทองหลัก (ละว้า) ยาง (กลาง,ตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางกุง (เลย) ยางขาว (กลาง,ลำปาง) ยางควาย (หนองคาย) ยางตัง (ชุมพร,ใต้) ยางเนิน (จันทบุรี) ยางแม่น้ำ (กลาง) ยางหยวก (กลาง,หนองคาย) ราลอย (ส่วย สุรินทร์) และ ลอยด์ (โซ่ นครพนม)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและยางนา · ดูเพิ่มเติม »

ระพินทร์ พุฒิชาติ

ระพินทร์ พุฒิชาติ หรือ มีชื่อเล่นเดิมว่า ต้อย เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและระพินทร์ พุฒิชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดยโสธร

รายชื่อวัดในจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรายชื่อวัดในจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดยโสธร

ร หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดยโสธร หมวดหมู่:จังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดยโสธร

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

รณ ฤทธิชัย

รณ ฤทธิชัย มีชื่อจริงว่า รณฤทธิชัย คานเขต (12 กันยายน พ.ศ. 2492 -) นักแสดงชาวไทยที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ประจำปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและรณ ฤทธิชัย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพุทธบูชา

ป็นวัดราษฎร์ สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวัดพุทธบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ เป็นชื่อเรียกของวัดที่ที่มีพระสถูปเจดีย์หรือพระปรางค์ที่บรรจุพระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวัดมหาธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีธรรมาราม

วัดศรีธรรมาราม เดิมชื่อ วัดท่าชี, วัดนอก และวัดท่าแขกตามลำดับ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ภายในเขตเทศบาลเมืองยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เป็นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองคือ พระพุทธมงคลรุ่งโรจน์ หรือ หลวงพ่อพระสุก มีพระราชสุทธาจารย์ (สมดี อชิโต) เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวัดศรีธรรมาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร

วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเด่นคือเป็นวัดกลางเมือง ตั้งอยู่ระหว่างศูนย์การค้าสยามพารากอนและห้างเซ็นทรัลเวิลด์ วัดสถาปนาขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าสุนทราราม

วัดป่าสุนทราราม หรือ วัดบ้านกุดแห่ เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยพระอาจารย์ดี ฉนฺโน ลูกศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยมี พระอธิการอินทร์ สุนฺทโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวัดป่าสุนทราราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดโสมนัสราชวรวิหาร

วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร หรือ วัดโสมนัสวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในอุโบสถและพระวิหารมีภาพจิตกรรฝาผนังอันงดงาม มีคลองผดุงกรุงเกษมที่รัชการที่ 4 โปรดให้ขุดขึ้นแล้วเสร็จในปี 2395 ผ่านทางด้านหน้าของพระอุโบสถ ภายในวัดมีเจดีย์ 2 องค์ เจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ (เจดีย์ทอง รูปทรงแบบลังกาสีทองเหลืองอร่าม ยอดแหลมสูงเด่นเป็นสง่า สามารถมองเห็นได้ไกลซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติแวะเวียนเข้ามาชมความงามและกราบนมัสการกันอยู่มิได้ขาด) และยังมีเจดีย์องค์เล็ก (เจดีย์มอญ) อีกองค์ที่มีลักษณะสวยงามเช่นเดียวกับปรินิพพานสถูปในอินเดีย และหาชมได้ยากเพราะเจดีย์ลักษณะนี้มีเพียง 2 องค์ในประเทศไทย คือ ที่วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร และที่วัดกันมาตุยาราม อีกองค์หนึ่ง ปัจจุบันมีการสร้างและปรับปรุงอาคารต่างๆ ภายในวัด อาทิเช่น ตึก 150 ปี โรงเรียนพระปริยัติธรรม (ตึกสาลักษณาลัย) ซึ่งเป็นตึกเก่าสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่คุณหญิง (พึ่ง) ศรีภูริปรีชา ศาลาสำนักงานภาค ศาลาสถิต ศาลามุขหน้าวัด ตึก 80 ปีสมเด็จพระวันรัต เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี โรงเรียนวัดโสมนัส กองการฌาปนกิจกรมทหารบก สุสานทหาร อยู่ภายในบริเวณวั.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวัดโสมนัสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนยโสธร

วิทยาลัยชุมชนยโสธร (Yasothon Community College) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ตามนโยบายการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดที่ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา วิทยาลัยชุมชนยโสธร ตั้งอยู่ ณ ถนนสุวรรณภูมิ-ยโสธร ตำบลสำราญ อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวิทยาลัยชุมชนยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร (อังกฤษ : Yasothon College of Agriculture and Technology ) เป็นวิทยาลัยด้านการเกษตร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านปอแดง ตำบลบากเรือ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ วงษ์ไกร

นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 5 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและวิฑูรย์ วงษ์ไกร · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟอุบลราชธานี

นีรถไฟอุบลราชธานีเป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ถนนรถไฟ ตำบลวารินชำราบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 575 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและสถานีรถไฟอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

สนามบินเลิงนกทา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและสนามบินเลิงนกทา · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลยโสธร

มสรฟุตบอลยโสธร เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดยโสธร ปัจจุบันเล่นใน ลีก ดิวิชั่น 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและสโมสรฟุตบอลยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หม่ำ จ๊กมก

็ชรทาย วงศ์คำเหลา (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2508) ขื่อในการแสดงว่า หม่ำ จ๊กมก เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับความนิยมทั้งในและนอกประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและหม่ำ จ๊กมก · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ

หลวงปู่บุญมี ปริปุณฺโณ พระภิกษุฝ่ายอรัญวาสี สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ศิษย์ของพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ที่มีปฏิปทางดงามรูปหนึ่ง เคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่านาคูณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสที่วัดป่าศิลาพร จังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและหลวงปู่บุญมี ปริปุณโณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่เพียร วิริโย

หลวงปู่เพียร วิริโย พระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ อรัญวาสี อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าหนองกอง ศิษย์ของพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ท่านได้รับการยกย่องจากหลวงตามหาบัวว่าเป็นผู้มีวัตรเรียบร้อย ปฏิบัติเอาจริงเอาจรัง ไม่มีด่างพร้อ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและหลวงปู่เพียร วิริโย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชานุมาน

นุมาน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอชานุมาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิบูลมังสาหาร

ูลมังสาหาร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากอำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร เดินทางไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอพิบูลมังสาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพนมไพร

นมไพร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดร้อยเอ็ด และเป็นอำเภอที่อยู่ตรงข้ามฝั่งแม่น้ำชีกับอำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอพนมไพร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกุดชุม

กุดชุม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอกุดชุม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมหาชนะชัย

มหาชนะชัย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอมหาชนะชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยางชุมน้อย

งชุมน้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นแหล่งผลิตหอมแดงใหญ่ที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ มีเกษตรกรกว่า 3,000 ราย ปลูกหอมแดงเป็นเนื้อที่กว่า 9,300 ไร่ ผลผลิตหอมแดงประมาณ 26,000 ตันต่อปี สินค้าแปรรูปที่ขึ้นชื่อ1.กระเทียมโทนดองน้ำผึ้ง 2.หอมเจียวปลากรอบ 3.แยมหอมเจียว ทั้ง3ผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ สร้างงานให้คนในชุมชน เพื่อพี่น้องชาวยางชุมให้มีอาชีพที่ยั้งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชุมชน และได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่สนับสนุน สถานที่ตั้งอยู่ตรงข้ามปั้มน้ำมันบางจากทางไปจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอยางชุมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอราษีไศล

ราษีไศล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอราษีไศล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวารินชำราบ

วารินชำราบ เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเมืองอุบลราชธานี มีระยะทางห่างจากอำเภอเมืองเพียง 2 กิโลเมตร อยู่คนละฝั่งของแม่น้ำมูล เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟอุบลราชธานีและสถาบันการศึกษาที่สำคัญของจังหวัด คือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอวารินชำราบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศิลาลาด

ลาลาด เป็นอำเภอหนึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัดศรีสะเกษ ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2550 โดยแยกออกจากอำเภอราษีไศล นับเป็นอำเภอที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับล่าสุดของจังหวัด พร้อมกับอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอศิลาลาด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหัวตะพาน

หัวตะพาน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอหัวตะพาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองพอก

อำเภอหนองพอกเป็นอำเภอที่ 11 ของจังหวัดร้อยเอ็ด เป็นอำเภอท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดร้อยเอ็.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอหนองพอก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองสูง

อำเภอหนองสูง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมุกดาหาร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอหนองสูง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทรายมูล

ทรายมูล เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยโสธร มีสถานที่สำคัญทางศาสนา คือ "พระธาตุฝุ่น" เป็นพระธาตุที่มีลักษณะเป็นเนินดินทรายที่มนุษย์สร้างขึ้น ตั้งอยู่ภายในตัวอำเภอ ห่างจากที่ว่าการอำเภอทรายมูลเพียงไม่กี่ร้อยเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอทรายมูล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอนตาล

อนตาล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมุกดาหาร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอดอนตาล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคำเขื่อนแก้ว

ำเขื่อนแก้ว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร เดิมชื่อบ้านลุมพุก ขึ้นแขวงเมืองยโสธร บริเวณอุบลราชธานี ปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอคำเขื่อนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอค้อวัง

้อวัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร โดยเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทิศใต้สุดของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอค้อวัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าติ้ว

ป่าติ้ว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอป่าติ้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนิคมคำสร้อย

นิคมคำสร้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมุกดาหาร เดิมเป็นตำบลคำสร้อย ขึ้นกับอำเภอมุกดาหาร ตั้งเป็นกิ่งอำเภอนิคมคำสร้อย เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอนิคมคำสร้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโขงเจียม

งเจียม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศไทย โดยมีชื่อเดิมว่า อำเภอบ้านด่าน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอโขงเจียม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไทยเจริญ

หน้าที่ว่าการ ประเพณีบุญคุณลานอำเภอไทยเจริญ 2561 การเล่นดนตรีพื้นเมืองอีสาน (พิณและแคน) ประกอบการฟ้อนรำของประชาชนในอำเภอที่มาร่วมงานบุญในคืนนั้น ไทยเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอไทยเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองยโสธร

มืองยโสธร เป็นอำเภอหนึ่ง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 578.20 ตารางกิโลเมตร หรือ 361,378.5 ไร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเมืองยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองอำนาจเจริญ

มืองอำนาจเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเมืองอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองอุบลราชธานี

มืองอุบลราชธานี เป็นอำเภอขนาดใหญ่ในจังหวัดอุบลราชธานี และเมื่อมองจากแผนที่จะเป็นลักษณะคล้าย ๆ รูปปล.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเมืองอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเลิงนกทา

ลิงนกทา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัด มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 และมีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากอำเภอเมืองยโสธร และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 รองจากอำเภอเมืองยโสธร อีกทั้งมีสนามบินเก่าในช่วงสมัยสงครามเวียดนาม ก่อสร้างโดยกองทัพสหรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลโคกสำราญ ขณะนี้อยู่ในช่วงกำลังปรับปรุงสนามบินเพื่อให้เป็นสนามบินพาณิชย์ และในอนาคตจะสามารถพัฒนาเป็นสนามบินนานาชาติได้ และโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายบ้านไผ่ - มหาสารคาม - ร้อยเอ็ด - มุกดาหาร - นครพนม ซึ่งผ่านพื้นที่อำเภอเลิงนกทา โดยกำหนดสถานีรถไฟและป้ายหยุดรถไฟคือ สถานีรถไฟเลิงนกทา และป้ายหยุดรถไฟบ้านห้องแซง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเลิงนกทา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเสลภูมิ

ลภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของตัวจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดยโสธร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเสลภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเสนางคนิคม

นางคนิคม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเสนางคนิคม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขื่องใน

ื่องใน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอำเภอเขื่องใน · ดูเพิ่มเติม »

อุดร ทองน้อย

นายอุดร ทองน้อย (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 - 25 กันยายน พ.ศ. 2560) นักเขียนชาวไทย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 2 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและอุดร ทองน้อย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมุกดาหาร

มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525 นับเป็นจังหวัดที่ 73 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดอำนาจเจริญและจังหวัดสระแก้ว.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดหนองบัวลำภู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอำนาจเจริญ

อำนาจเจริญ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานจากการค้นพบแหล่งชุมชนโบราณ โบราณสถาน และโบราณวัตถุตามที่กรมศิลปากรค้นพบและสันนิษฐานไว้ตามหลักฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายุราว 1,000 ปี) และได้ตั้งเป็นเมืองมานานหลายร้อยปี ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดหนองบัวลำภูและจังหวัดสระแก้ว เดิมเป็นอำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วยอำเภออำนาจเจริญ (ปัจจุบันคืออำเภอเมืองอำนาจเจริญ) อำเภอชานุมาน อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอพนา อำเภอหัวตะพาน อำเภอเสนางคนิคม และกิ่งอำเภอลืออำนาจ (ปัจจุบันคืออำเภอลืออำนาจ) คำว่าอำนาจเจริญเป็นภาษาเขมร มีความหมายตามตัว คือ อำนาจเจริญ เมืองที่มีสมญานามว่า เมืองข้าวหอมโอชา ถิ่นเสมาพันปี.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุก่องข้าวน้อย

ตุก่องข้าวน้อย:ด้านหน้าใบหน้า ธาตุก่องข้าวน้อย:พระพุทธรูป ธาตุก่องข้าวน้อย หรือที่นิยมเรียกกันว่า พระธาตุก่องข้าวน้อย ตั้งอยู่ในกลางทุ่งนาของบ้านตาดทอง ตำบลตาดทอง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 9 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 (สายยโสธร-อุบลราชธานี) กิโลเมตรที่ 194 เลี้ยวซ้ายไปอีก 1 กิโลเมตร ธาตุก่องข้าวน้อยเป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูน รูปทรงแปลกไปจากเจดีย์โดยทั่วไป คือมีลักษณะเป็นก่องข้าว องค์ธาตุเป็นเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สาม ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างด้านละ 2 เมตร ก่อสูงขึ้นไปประมาณ 1 เมตร ช่วงกลางขององค์ธาตุมีลวดลายทำเป็นซุ้มประตูทั้งสี่ด้าน ถัดจากช่วงนี้ไปเป็นส่วนยอดของเจดีย์ที่ค่อยๆ สอบเข้าหากัน ส่วนยอดรอบนอกของธาตุก่องข้าวน้อยมีกำแพงอิฐล้อมรอบขนาด 5x5 เมตร นอกจากนี้บริเวณด้านหลังองค์ธาตุมีพระพุทธรูปอยู่องค์หนึ่งก่อด้วยอิฐ นับถือว่าศักดิ์สิทธิ์มาก และในเดือนห้า (เมษายน) จะมีการประเพณีสรงน้ำพระและปิดทอง เชื่อกันว่าถ้าไม่ทำเช่นนี้ฝนจะแล้งในปีนั้น มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 23-25 (สมัยอยุธยาตอนปลาย) ประวัติของการสร้างธาตุแห่งนี้แตกต่างไปจากธาตุอื่น ๆ ที่มักเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา โดยเป็นนิทานพื้นบ้านเล่าว่า มีชายหนุ่มชาวนา (บ้างว่าชื่อ ทอง) ที่ได้ทำนาทั้งชีวิต วันหนึ่งเขาออกไปไถนา ในเวลาเที่ยงเขาเหนื่อยล้า รู้สึกเกิดอาการร้อนรนและหิวโซ มารดาของหนุ่มชาวนามาส่งข้าว แต่มาช้ากว่าเวลาปกติ ชายหนุ่มเห็นว่าก่องข้าวที่มารดาถือมาให้นั้นก่องเล็กมาก เขาโกรธมารดามาก จึงทำร้ายมารดาด้วยความโมโหหิว เอาคันไถนาฟาดไปที่มารดา จนมารดาล้มและเสียชีวิต หลังจากนั้นเขากินข้าวที่มารดานำมาให้ แต่ก็กินเท่าไรข้าวก่องน้อยนั้นก็ไม่หมดก่อง ลูกชายเริ่มได้สติ หันมาเห็นมารดานอนเสียชีวิตบนพื้น จึงรู้สึกเสียใจมากที่ได้ทำผิดไป จึงได้สร้างธาตุก่องข้าวน้อยแห่งนี้ขึ้นมาด้วยมือเพื่อชดใช้บาปกรรม นอกจากนี้แล้วบริเวณรอบๆ องค์ธาตุ กรมศิลปากรได้ค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีต่าง ๆ เกี่ยวกับการอยู่อาศัย ณ ที่แห่งนี้ ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ของไทย และภาพเขียนสียุคเดียวกับโบราณสถานบ้านเชียงด้วย อนึ่งชื่อที่ถูกต้องของธาตุองค์นี้ ควรจะเรียกว่า "ธาตุก่องข้าวน้อย" มากกว่า "พระธาตุก่องข้าวน้อย" เพราะภายในบรรจุอัฐิบุคคลธรรมดา มิใช่เป็นอัฐิพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหมือนเช่นพระธาตุ หรือพระบรมธาตุทั่วไป ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบ ธาตุวัดทุ่งสะเดา ซึ่งมีขนาดเล็กกว่ามาก ตั้งอยู่ไม่ไกลกันมากนัก จึงได้มีการสันนิษฐานใหม่ว่า ธาตุวัดทุ่งสะเดา น่าจะเป็นธาตุก่องข้าวน้อย ตามตำนานเล่าขาน เพราะมีขนาดเล็กคนๆ เดียวสามารถสร้างได้ ส่วนธาตุก่องข้าวน้อย บ้านตาดทอง มีขนาดใหญ่พอๆ กับพระธาตุอานนท์ วัดมหาธาตุ ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะตัว บุคคลคนเดียวไม่มีความรู้เรื่องช่างไม่สามารถทำได้ จึงได้เรียกขานใหม่ว่า พระธาตุถาดทอง แทน.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและธาตุก่องข้าวน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและถนอม กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแจ้งสนิท

นนแจ้งสนิท หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 สายบ้านไผ่–อุบลราชธานี เป็นทางหลวงที่แยกออกมาจากถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) ที่ตำบลบ้านไผ่ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ผ่านเข้าเขตจังหวัดมหาสารคาม ผ่านอำเภอกุดรัง อำเภอบรบือ อำเภอเมืองมหาสารคาม เข้าเขตจังหวัดร้อยเอ็ด ผ่านอำเภอเมืองร้อยเอ็ด อำเภอธวัชบุรี อำเภอเสลภูมิ เข้าเขตจังหวัดยโสธร ผ่านอำเภอเมืองยโสธร อำเภอคำเขื่อนแก้ว จากนั้นเข้าเขตจังหวัดอุบลราชธานี ผ่านอำเภอเขื่องใน แล้วไปสิ้นสุดที่อำเภอเมืองอุบลราชธานี อำเภอเมืองอุบลราชธานี รวมระยะทางทั้งสิ้น 278.752 กิโลเมตร ถนนแจ้งสนิทเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายชนบท-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-อุบลราชธานี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและถนนแจ้งสนิท · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 สายชัยภูมิ–เขมราฐ เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก-ตะวันออก มีระยะทางตลอดทั้งสาย 380.653 กิโลเมตร ผ่านจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207 สายบ้านวัด–ประทาย เริ่มต้นจากถนนมิตรภาพ ใน อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา และสิ้นสุดที่อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา หรือเรียกชื่อถนนเส้นนี้ว่า ถนนเจนจบทิศ ถนนเจนจบทิศ เดิมเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207 เคยกำหนดให้ถนนเส้นนี้สิ้นสุดถึง อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น ซึ่งกรมทางหลวงได้เปลี่ยนแปลงหมายเลขทางหลวงใหม่ ในช่วงอำเภอประทาย ถึง อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 และถนนเส้นจากอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ ไปบรรจบกับถนนมิตรภาพ ใน อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2440.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี

ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี (Ubon Ratchathani International Airport) หรือ สนามบินอุบลราชธานี ตั้งอยู่ที่ 297 ถนนเทพโยธี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากตัวเมืองอุบลราชธานีประมาณ 1 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลนครอุบลราชธานี ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี มีรันเวย์ขนาดมาตรฐาน สามารถรองรับผู้โดยสารจากจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร และอำนาจเจริญ รวมถึงผู้โดยสารจากประเทศเพื่อนบ้าน (สปป.ลาวตอนใต้) ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางการบินพาณิชย์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี เป็นท่าอากาศยานที่ใช้งานมาตั้งแต่ครั้งสงครามเวียดนาม โดยเป็นที่ตั้งของฐานทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ที่ใช้เป็นฐานในการโจมตีเวียดนาม ตั้งอยู่ในบริเวณกองบิน 21 กองทัพอากาศ มีพื้นที่ทั้งหมด 3,876 ไร่ ได้รับการจัดตั้งให้เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ (International Airport) แห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวดักแด้

ท้าวดักแด้ หรือชื่อจริง ไทยแลนด์ คำทอง (ชื่อเดิม: บัญชา คำทอง) เป็นนักแสดงตลก มีชื่อเสียงมาจากโฆษณา ปตท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและท้าวดักแด้ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวหอมมะลิ

้าวสารข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิ (Thai jasmine rice) เป็นสายพันธุ์ข้าวที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย มีลักษณะกลิ่นหอมคล้ายใบเตย เป็นพันธุ์ข้าวที่ทำให้ข้าวไทยเป็นสินค้าส่งออกที่รู้จักไปทั่วโลก.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและข้าวหอมมะลิ · ดูเพิ่มเติม »

ณิรัฐกานต์ ศรีลาภ

นางสาวณิรัฐกานต์ ศรีลาภ (ชื่อเล่น: บ็อบบี้) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยโสธร พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในห้..ประชาธิปัตย์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและณิรัฐกานต์ ศรีลาภ · ดูเพิ่มเติม »

ดาว บ้านดอน

ว บ้านดอน ชื่อจริงว่า เทียม เศิกศิริ เป็นชาวอำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เป็นลูกหลานชาวนา มีพี่น้องทั้งหมด 7 คน ลำบากมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก เรียนหนังสือจบแค่ ป.4 ไม่มีโอกาสเรียนต่อทั้งๆที่เป็นคนเรียนเก่งความจำดี จึงได้มาบวชเป็นสามเณรอาศัยร่มผ้ากาสาวพัสตร์ หัดเทศน์ทำนองและแหล่จนชำนาญ เป็นสามเณรเสียงทองที่มีปฏิภาณเป็นเลิศกลายเป็นสามเณรนักเทศน์แหล่อันดับ หนึ่งของแผ่นดินที่ราบสูงในสมัยนั้น เทพบุตร สติรอดชมภู เห็นแววของสามเณรน้อย จึงชักชวนสามเณรว่าหากว่าลาสึกขามาเมื่อใดจะให้ออกมาแสดงหมอลำ ในที่สุดสามเณรน้อยก็ลาสึกขาออกมาแสดงหมอลำและร้องเพลงลูกทุ่งในเวลาต่อมา ด้วยความเป็นคนที่มีความจำและสมองดี รู้จักคิดประดิษฐ์ประดอยถ้อยคำใหม่มาตั้งแต่สมัยเป็นนักเทศน์ ดาว บ้านดอน จึงสามารถเขียนกลอนลำและเขียนเพลงร้องได้เอง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและดาว บ้านดอน · ดูเพิ่มเติม »

คำพูน บุญทวี

ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ. 2522 จากนวนิยายเรื่อง ลูกอีสาน และได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ประจำปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและคำพูน บุญทวี · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอน

ปลาชะโอน เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ompok bimaculatus อยู่ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) มีรูปร่างหัวสั้นและแบนข้างเล็กน้อย ลำตัวแบนข้าง ส่วนหลังยกสูงเล็กน้อย ปากเล็ก ตาโตอยู่เหนือมุมปาก หนวดที่ริมฝีปากยาวถึงบริเวณท้อง หนวดใต้คางสั้น ครีบหลังเล็ก ครีบอกใหญ่ ครีบหางเว้าตื้นมีปลายแฉกมน ตัวมีสีตามสภาพน้ำ ปลาที่อาศัยในแหล่งน้ำใส ตัวมักมีสีคล้ำและมีจุดประสีคล้ำ ที่เหนือครีบอกมีแต้มกลมสีคล้ำ ในบริเวณน้ำขุ่นมักมีตัวสีขุ่น ขาวซีด ครีบใส มีแต้มสีคล้ำบริเวณโคนหาง มีขนาดประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 40 เซนติเมตร อาศัยเป็นฝูงเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำนิ่งและแม่น้ำของทุกภาค ตั้งแต่แม่น้ำแม่กลองถึงแม่น้ำโขง บริโภคโดยปรุงสด โดยเฉพาะทอดกรอบ มีรสชาติดีมาก ปลารมควัน และปลาเค็ม เคยเป็นสินค้ามีชื่อของทะเลสาบเขมรด้วย อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะปลาที่เป็นสีเผือก ปลาชะโอน มีชื่อเรียกต่างออกไปตามถิ่นต่าง ๆ เช่น "ปลาสยุมพร", "ปลาเนื้ออ่อน" ในภาษาอีสานเรียก "ปลาเซือม" และเรียกสั้น ๆ ในภาษาใต้ว่า "ปลาโอน" เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและปลาชะโอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาส้ม

ปลาตะเพียนส้ม ปลาส้ม เป็นการแปรรูปอาหารจากปลาชนิดหนึ่งที่แพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เครื่องปรุงหลักประกอบด้วย ปลา เกลือ กระเทียม ข้าวสุก ผสมกัน หมักจนมีรสเปรี้ยว มีทั้งแบบที่ใช้ปลาทั้งตัว และแบบที่ใช้เฉพาะเนื้อปลา ซึ่งแบบที่ใช้เนื้อปลาอย่างเดียวอาจเรียกปลาส้มฟักหรือแหนมปลา สัดส่วนต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น เช่น ชาวไทญ้อมีสูตรปลาส้มเป็นของตนเอง โดยเครื่องปรุง ใช้พริก เกลือ กระเทียม น้ำซาวข้าว ข้าวเหนี่ยวใหม่นึ่ง วิน จะต้องคั่วเกลือให้แห้งและตำให้ละเอียดก่อนนำมาคลุกกับส่วนผสมอื่น ปลาส้มของภาคใต้มีเอกลักษณ์เฉพาะที่ต่างไป โดยจะนำปลา เช่น ปลากระดี่ ปลาตะเพียน มาผ่าท้องเอาไส้ออก หมักเกลือไว้ 2-3 วัน แล้วจึงล้างจากนั้น นำไปชุบในน้ำตาลโตนด ที่เคี่ยวกับข้าวคั่วจนข้น เรียงใส่ไห ปิดปากไหให้แน่น ทิ้งไว้ 7-10 วัน ถ้าใช้กุ้งแทนเรียกกุ้งส้ม อย่างไรก็ตามการบริโภคปลาส้มควรปรุงให้สุกก่อน ไม่ควรบริโภดดิบๆ เพราะอาจมีพยาธิใบไม้ในตับอยู่ ทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งลำไส้.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและปลาส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ

นายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ (ชื่อเล่น:โอเล่, เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2515) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะชาติ ถามะพันธ์

ปิยะชาติ ถามะพันธ์ ชื่อเล่น แมท เดิมชื่อ ปิยะฉัตร ถามะพันธ์ เป็นนักฟุตบอล สัญชาติไทย สามารถเล่นได้ทั้งตำแหน่งกองกลาง ปีกซ้าย และแบ็คซ้าย ได้แชมป์ไทยพรีเมียร์ลีก 2 สมัยกับ สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด โดยปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส ใน ไทยพรีเมียร์ลีก สวมเสื้อหมายเลข 32.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและปิยะชาติ ถามะพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำชี

แม่น้ำชี เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้ำมูล เกิดจากที่ราบด้านตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ์นับตั้งแต่เขาสันปันน้ำ เขาแปปันน้ำ เขาเสลียงตาถาด เขาอุ้มน้ำ เขายอดชี เขาครอก จนถึงเขาเทวดา ซึ่งเป็นแนวภูเขาชายเขตแดนด้านตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดชัยภูมิ โดยมีสาขาหลัก 5 ลำน้ำซึ่งประกอบไปด้วย ลำน้ำพอง ลำน้ำปาว ลำน้ำเซิน ลำน้ำพรม และลำน้ำยัง แม่น้ำชีถือว่า เป็นแม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในประเทศไทย ไหลผ่านจังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ และไหลไปบรรจบกับแม่น้ำมูลที่บ้านวังยาง รอยต่อจังหวัดศรีสะเกษ กับ จังหวัดอุบลราชธานี มีความยาวทั้งสิ้น 765 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและแม่น้ำชี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกู่จานวิทยาคม

รงเรียนกู่จานวิทยาคม (Kuchanwitthayakhom School) อักษรย่อ (ก.จ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง เป็นโรงเรียนเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขตที่ ๒๘ จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 127 ม.3 ตำบลกู่จาน อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35110 โรงเรียนกู่จานวิทยาคม ได้รับรางวัลมากมาย ไม่ว่าจะเป็นผลงานการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมระดับประเทศ ประจำปีการศึกษา 2556 1 เหรียญทอง การแข่งขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2556 ได้รับรางวัล 4 เหรียญทอง 4 เหรียญเงิน 2 เหรียญทองแดง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและโรงเรียนกู่จานวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนยโสธรพิทยาคม

รงเรียนยโสธรพิทยาคม (Yasothonpittayakom School) อักษรย่อ (ย.ส.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เป็นโรงเรียนเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขตที่ ๒๘ จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ถนนแจ้งสนิท ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 และโรงเรียนยโสธรพิทยาคมได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลWorld Class Standard School ซึ่งมีโรงเรียนในจังหวัดยโสธร เพียง 2 แห่งเท่านั้นที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลคือ โรงเรียนยโสธรพิทยาคม และโรงเรียนเลิงนกท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและโรงเรียนยโสธรพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์

ป้ายโรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์ โรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์ ประกาศจัดตั้งโดย ฯพณฯ สุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2539 ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 ตำบลหนองหิน อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธรสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 มีเนื้อที่ 35 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยอาศัยความร่วมมือของประชาชนทุกหมู่เหล่าในแต่ละท้องถิ่น ตาม นโยบายปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและโรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยาคม

รงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยาคม ตั้งอยู่ เลขที่ 6 หมู่ 8 บ้านคำผักหนามตำบลหนองแหน อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบลหนองแหน เดิมเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนโพนงาม พิทยาคาร ปีการศึกษา 2533 ประชาชนและสภาตำบลหนองแหนร่วมกับนายศักดิ์ดา พันธ์เพ็ง อาจารย์ใหญ่โรงเรียนโพนงามพิทยาคาร (ในขณะนั้น) ได้ร่วมกันสร้างอาคารเรียนชั่วคราว โดยใช้ที่ดินของศูนย์ตำบลหนองแหน โดยมี นายวัฒนา ยอดมงคล อาจารย์ 1 ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานโรงเรียนสาขา ต่อมาในปีการศึกษา 2536 เพื่อเป็นการ รองรับการเปิดเป็น เอกเทศ สภาตำบลหนองแหน นายอัศนีย์ศักดิ์ ศิริชัย อาจารย์ใหญ่โรงเรียนโพนงาม (ขณะ นั้น) และนายคำหม่อนเชื้ออุ่น ผู้ใหญ่บ้านคำผักหนาม (ขณะนั้น) ได้มีมติย้ายสถานที่มาทำการเรียนการสอน ในที่ดิน สาธารณะ ประโยชน ์ตำบลหนองแหน (หนองเต่า) บ้านคำผักหนามหมู่ที่ 4 (ปัจจุบันเป็นหมู่ที่ 8) ซึ่งเป็นสถานที่ เรียนปัจจุบัน โดยมีนาย ไตรสรณ์ สุวพงษ์ อาจารย์ 2 ระดับ 6 โรงเรียนยโสธรพิทยาสรรค์ ทำหน้าที่เป็นผู้ประสาน งานโรงเรียนสาขาต่อมา เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2538 โรงเรียนได้รับประกาศจัดตั้งเป็นเอกเทศ โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยา คม ” เปิดทำการเรียนการสอน ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 สำนักงานสามัญ ศึกษาจังหวัดได้แต่งตั้งให้ นาย อัศนีย์ศักดิ์ ศิริชัย อาจารย์ใหญ่โรงเรียนโพนงามพิทยาคาร รักษาการในตำแหน่ง ครูใหญ่ ต่อมากรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายไตรสรณ์ สุวพงษ์ มาดำรงตำแหน่งเป็นครูใหญ่คนแรก และ ผู้อำนวยการโรงเรียนในเวลาต่อมา และในปีการศึกษา 2548 นายหมิ่ง ยวนยี ผู้อำนวยการโรงเรียน ย้ายมาดำรง ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนหนองแหน พัฒนวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต 2 จากนั้นในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2550 โดยการนำของ ผู้อำนวยการหมิ่ง ยวนยี โรงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยาคม ได้ถ่ายโอน เข้าสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดยโสธร ปัจจุบันนายบุญเพิ่ม ศักขินาดี ครูชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยาคม.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและโรงเรียนหนองแหนพัฒนวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์

รงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ (Khamkhueankeao Chanubhatham School) เดิมชื่อ โรงเรียนวิสามัญคำเขื่อนแก้ว เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษภายในจังหวัดยโสธรเป็นโรงเรียนประจำอำเภอคำเขื่อนแก้ว โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ ตั้งอยู่ในเขต ถนนแจ้งสนิท ตำบลลุมพุก อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 28 (ศรีสะเกษ-ยโสธร) กระทรวงศึกษาธิการ และได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World–Class Standard School).

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและโรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเลิงนกทา

รงเรียนเลิงนกทา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2514 โดยใช้ศาลาวัดเขมาไชยาราม (วัดใต้) และต่อมาเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2514ได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านภูดิน เลขที่ 299 หมู่ 12 ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ในเนื้อที่ 36 ไร่ 1 งาน 60 ตารางว.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและโรงเรียนเลิงนกทา · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ พงศธร

ผ่ พงศธร นักร้องเพลงลูกทุ่งชายซุปเปอร์สตาร์ชาวไทย สังกัดค่าย แกรมมี่โกลด์ ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เจ้าของฉายาหนุ่มตามฝันจากบ้านไกล เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง ยืมหน้ามาเข้าฝัน,คิดฮอดวันละหน่อย,สุดท้ายคืออ้ายเจ็บ,เบอร์โทรนี้มีแฟนหรือยัง,คนบ้านเดียวกัน, สาวกันตรึม,บังเอิญมีหัวใจ,อยากมีเธอเป็นแฟน,ยางลบหัวใจชื่อเสียสละ,ท.2 ลูกอีสาน,เป็นเพื่อนไม่ได้ หัวใจอยากเป็นแฟน,เลิกกันไม่มีวันเลิกเจ็บ,รอเด้อคนดี,คนแรกที่ทำให้รัก,หนุ่ม นป.,ฝืนใจหน่อยได้ไหม,ไม่มีข้อแม้ตั้งแต่เริ่มต้น,หมอนขาดสาดผืนเก่า,ต้นทางคือฮักปลายทางคือเฮา,ถิ่มอ้ายไว้ตรงนี้ล่ะ ฯลฯ.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและไผ่ พงศธร · ดูเพิ่มเติม »

เชียงรุ่ง

แผนที่เชียงรุ่ง แม่น้ำโขงช่วงที่ไหลผ่านเชียงรุ่ง เชียงรุ่ง หรือในภาษาจีนคือ จิ่งหง, เจียงฮุ่ง หรือออกเสียงในภาษาไทลื้อว่า เจงฮุ่ง (ไทลื้อใหม่: ᦵᦋᧂᦣᦳᧂᧈ ;) คือเมืองเอกในเขตปกครองตนเองชนชาติไท - สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีชายแดนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศพม่า และทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับประเทศลาว.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเชียงรุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ. 2318 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2392) อัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และแม่ทัพใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 "เจ้าพระยาบดินทรเดชา" เป็นราชทินนามพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานราชทินนามนี้มีแต่ท่านเพียงผู้เดียวเท่านั้น.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระตา

้าพระตา เป็นเจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลำภู) ระหว่าง พ.ศ. 2311 - พ.ศ. 2314 สืบเชื้อสายเจ้าปางคำ จากราชวงศ์เชียงรุ่งสิบสองปันนา เป็นพระบิดาเจ้าพระวิไชยราชสุริยวงศาขัติยราช เจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ องค์ที่ 3 และเป็นพระบิดาเจ้าพระประทุมวรราชวงศา เจ้าเมืองอุบลราชธานี คนที่ 1.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเจ้าพระตา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)

อนุสาวรีย์พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ที่ทุ่งศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) หรือ พระปทุมวรราชสุริยวงษ ในจารึกพระเจ้าอินแปงออกนามว่า เจ้าพระปทุม ชาวเมืองอุบลราชธานีในสมัยโบราณนิยมออกนามว่า อาชญาหลวงเฒ่า ดำรงตำแหน่งเจ้าประเทศราชครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราชคนแรก (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานีในภาคอีสานของประเทศไทย) นามเดิมว่า เจ้าคำผง หรือ ท้าวคำผง เป็นโอรสในเจ้าพระตา (เจ้าพระวรราชปิตา) เจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลุ่มภู) กับเจ้านางบุศดี สมภพเมื่อ พ.ศ. 2252 ณ นครเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์อันเก่าแก่ อันเนื่องมาจากพระอัยยิกา (ย่า) ของพระองค์ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าปางคำ (ปู่) มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ จึงเป็นเหตุให้มีสร้อยราชทินนาม (รวมทั้งของเจ้าฝ่ายหน้า-ผู้อนุชา) มีคำว่า สุริยวงศ์ ต่อท้ายนาม อีกทั้งยังสืบเชื้อสายมาจากพระอัยกา (ปู่) คือเจ้าปางคำ เจ้านายเชื้อสายลื้อแห่งราชวงศ์เชียงรุ่งจากอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง (เมืองเชียงรุ้งแสวนหวีฟ้า) ผู้สร้างเมืองหนองบัวลุ่มภู (จังหวัดหนองบัวลำภูในปัจจุบัน) อนึ่ง พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ อุบล แห่งจังหวัดอุบลราชธานี ในภาคอีสานของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าปางคำ

้าปางคำ เจ้าเมืองหนองบัวลุ่มภู(หนองบัวลำภู)ผู้แต่งเรื่องสินไซ หรือสังข์ศิลป์ชั.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเจ้าปางคำ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลสำราญ

ทศบาลตำบลสำราญ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเทศบาลตำบลสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองยโสธร

ทศบาลเมืองยโสธร เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดยโสธร มีพื้นที่ 9.7 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดยโสธรและเทศบาลเมืองยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ยโสธรจ.ยโสธร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »