โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

จังหวัดนครศรีธรรมราช vs. วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห. วัดพระบรมธาตุวรมหาวิหาร หรือ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

จังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2556พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีอำเภอเมืองนครศรีธรรมราชจตุคามรามเทพตำบลในเมือง

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

จังหวัดนครศรีธรรมราชและพ.ศ. 2556 · พ.ศ. 2556และวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

จังหวัดนครศรีธรรมราชและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

จังหวัดนครศรีธรรมราชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช

ระราชานุสาวรีย์พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช สวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราช นครศรีธรรมราช ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช มีที่มาจากกษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรศรีธรรมราช (จังหวัดนครศรีธรรมราช) คือ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช จากหลักฐานที่พบจดบันทึกไว้ในสมุดข่อยโบราณในหอสมุดแห่งชาติ มีชาวนครศรีธรรมราชท่านหนึ่งซึ่งสนใจศึกษาวิชาโหราศาสตร์ ได้ค้นคว้าพบดวงชะตาเมืองนครศรีธรรมราช สถาปนาขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดี แรม 12 ค่ำ เดือน 3 ปีเถาะ จุลศักราช 649 ตรงกับพ.ศ. 1830 ซึ่งเป็นการสถาปนาหลังจากอาณาจักรศรีวิชัยได้ล่มสลายไปแล้ว เนื่องจากอาณาจักรศรีวิชัย มีอายุอยู่ในช่วง พ.ศ. 1000- 1800 พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช มีพระอนุชา 2 พระองค์ องค์แรกพระนาม พระเจ้าจันทรภาณุ และพระเจ้าพงษาสุระ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ทรงสถาปนา พระนามฐานันดรตำแหน่งพระมหาอุปราช ให้พระเจ้าจันทรภาณุ เป็นพระมหาอุปราช เมื่อพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระเชษฐาสวรรคต องค์รอง พระเจ้าจันทรภาณุ ขึ้นเสวยราชย์แทน เป็นที่น่าสังเกตว่า หลังจากพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรศรีธรรมาราช พระองค์ก่อนสวรรคต กษัตริย์พระองค์ต่อมาก็เป็นพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชแทน ดังเช่นเมื่อพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระองค์พี่สวรรคต พระเจ้าจันทรภาณุ ก็ได้รับพระนามว่า พระเจ้าศรีธรรมาราชโศกราช เช่นเดียวกัน แต่คนทั่วไป ก็มักจะเรียกจนติดปากว่า พระเจ้าจันทรภาณุ หรือในบางตำราใช้ พระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราช ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช หรือราชวงศ์ปัทมวงศ์ เป็นราชวงศ์หนึ่ง ของสยามประเทศที่เคยมีอำนาจปกครอง อาณาจักรศรีธรรมาราช ซึ่งปกครองเมืองใหญ่ต่างๆ ในคาบสมุทรมลายู จำนวน 12 เมือง เรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร เมื่อสมัยสุโขทัยเรืองอำนาจ เป็นอาณาจักรไทยทางภาคเหนือและภาคกลาง อาณาจักรศรีธรรมาราช ก็มีอำนาจรุ่งเรืองทางภาคใต้ อาณาจักรศรีธรรมาราชเป็นมิตรที่ดีต่ออาณาจักรสุโขทัย มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมโดยเฉพาะพระพุทธศาสนา มีการส่งพระสงฆ์ไปยังอาณาจักรสุโขทัย เพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา ปรากฏหลักฐานเป็นที่แน่ชัดว่า อาณาจักรศรีธรรมาราชยอมเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ ที่มีราชธานีกรุงอโยธยาศรีรามเทพนคร เริ่มสถาปนาราชวง..

จังหวัดนครศรีธรรมราชและราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช · ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

จังหวัดนครศรีธรรมราชและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช

อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมร.

จังหวัดนครศรีธรรมราชและอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช · วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารและอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

จตุคามรามเทพ

ท้าวขัตตุคาม-ท้าวรามเทพ จตุคามรามเทพ หมายถึง เทพรักษาวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช สององค์ คือ ท้าวขัตตุคาม และ ท้าวรามเทพ ซึ่งเดิมในความเชื่อของศาสนาพราหมณ์เป็นเทพชั้นสูง และมีอยู่ทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย แต่เมื่อภูมิภาคแถบอุษาคเนย์นี้รับอิทธิพลของพุทธศาสนาเข้ามา ท้าวขัตตุคาม และ ท้าวรามเทพ จึงถูกเปลี่ยนสถานะเป็นเทวดารักษาพระบรมธาตุ และเปลี่ยนชื่อให้เป็นมงคล เป็น ท้าวจตุคาม และสถิตอยู่บนที่บานประตูทางขึ้นพระบรมธาตุ ในปี พ.ศ. 2530 เมื่อครั้งมีการตั้งดวงเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นใหม่ จึงมีการอัญเชิญ จตุคามรามเทพ ไปสถิต ณ ที่นั้นเป็นต้นม.

จตุคามรามเทพและจังหวัดนครศรีธรรมราช · จตุคามรามเทพและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลในเมือง

ตำบลในเมือง สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ถึง 22 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

จังหวัดนครศรีธรรมราชและตำบลในเมือง · ตำบลในเมืองและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

จังหวัดนครศรีธรรมราช มี 426 ความสัมพันธ์ขณะที่ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร มี 56 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 1.66% = 8 / (426 + 56)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »