โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง

จังหวัดตรัง vs. อำเภอเมืองตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้. มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง

จังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวน หลีกภัยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง)ยางพาราศาสนาพุทธหมู่บ้านอำเภอกันตังอำเภอย่านตาขาวอำเภอวังวิเศษอำเภอสิเกาอำเภอห้วยยอดอำเภอนาโยงจังหวัดพัทลุงตำบลประเทศมาเลเซีย

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

จังหวัดตรังและชวน หลีกภัย · ชวน หลีกภัยและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง)

ระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) (8 เมษายน พ.ศ. 2400 – 10 เมษายน พ.ศ. 2456) เป็นข้าราชการชาวไทย ระหว่างเป็นเจ้าเมืองตรัง ได้พัฒนาเมืองให้เจริญก้าวหน้าจนกลายเป็นเมืองเกษตรกรรม จึงได้เลื่อนตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลภูเก็ต และเป็นผู้ได้รับพระราชทานนามสกุล ณ ระนอง คอซิมบี๊ ณ ระนอง เกิดที่จังหวัดระนองเมื่อวันพุธ เดือนห้า ปีมะเส็ง ตรงกับเดือนเมษายน..

จังหวัดตรังและพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) · พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง)และอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

จังหวัดตรังและยางพารา · ยางพาราและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

จังหวัดตรังและศาสนาพุทธ · ศาสนาพุทธและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

จังหวัดตรังและหมู่บ้าน · หมู่บ้านและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันตัง

กันตัง เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง คำว่า "กันตัง" สันนิษฐานว่าเป็นคำในภาษามลายู.

จังหวัดตรังและอำเภอกันตัง · อำเภอกันตังและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอย่านตาขาว

อำเภอย่านตาขาว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

จังหวัดตรังและอำเภอย่านตาขาว · อำเภอย่านตาขาวและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังวิเศษ

อำเภอวังวิเศษ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

จังหวัดตรังและอำเภอวังวิเศษ · อำเภอวังวิเศษและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิเกา

อำเภอสิเกา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง สิเกา อำเภอเล็กๆ อำเภอหนึ่ง อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดตรัง เมืองแห่งความสงบและธรรมชาติที่บริสุทธิ์ ที่มาของชื่อเมือง"สิเกา"นี้ หลายคนคงตีความไปต่างๆ นาๆ บ้างก็ว่ามีกงสี(บ้านพักชาวสวนยาง)เก่า เคยตั้งอยู่บริเวณนี้ บ้างก็ว่าคนจีนฮกเกี้ยนที่เคยอพยพมาจากสิงคโปร์และปีนังเข้ามาอยู่เรียกพื้นที่นี้ว่า"สี่เก้า" ต่อมาเพี้ยนเป็นสิเกา ซึ่งอย่างไรก็ตาม ที่มาของชื่อสิเกาที่น่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับมากที่สุดคือ คำว่า "สิเกา" เพี้ยนมาจากคำว่ากงสีเก่า เนื่องจากได้มีชาวจีนปีนัง ฮกเกี้ยน และประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาอาศัยประกอบอาชีพตัดไม้ขาย ต่อมาได้ตั้งโรงงานแปรรูปไม้ขึ้นที่ริมคลองสิเกา เพื่อนำไม้ คบ น้ำมันยาง ไม้ไผ่ และถ่านไม้โกงกางไปจำหน่ายยังต่างประเทศ และบรรทุกสินค้าอื่นๆ จากต่างประเทศเข้ามาจำหน่ายในอำเภอสิเกา ในยุคนั้นจึงมีผู้คนอาศัยอย่างหนาแน่น ต่อมาปริมาณไม้ลดลง ชาวจีนจึงเลิกกิจการกลับประเทศจีน บ้างก็ย้ายไปตั้งรกรากใหม่ ในตลาดทับเที่ยง(เทศบาลนครตรัง) บ้างก็เปลี่ยนไปทำไร่พริกไทย สวนยางพารา สวนมะพร้าว บ้างก็มีลูกเมียตั้งรกรากอยู่ที่ตำบลบ่อหิน (ตัวอำเภอปัจจุบัน) แต่ตัวโรงงานแปรรูปไม้หรือสถานที่ตั้งโรงงานยังมีอยู่ ชาวบ้านพากันเรียกว่า "กงสีเก่า" ต่อมานานวันเข้าก็เพี้ยนเป็น"สีเก่า" ผลสุดท้ายด้วยความเคยชินของสำเนียงใต้จึงได้เรียกเป็น"สิเกา หรืออีกแนวคิดหนึ่งก็คือที่ตั้งอำเภอนี้อยู่ใกล้ภูเขาสี่ลูก จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า "บ้านสี่เขา" ต่อมาเพี้ยนเป็น"สีเกา" และ "สิเกา" ตามลำดับ อำเภอสิเกา ได้รับการสถาปนาเป็นอำเภอ ขึ้นต่อจากเมืองกันตัง(เมืองตรังในขณะนั้น) เมื่อปี..

จังหวัดตรังและอำเภอสิเกา · อำเภอสิเกาและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยยอด

อำเภอห้วยยอด เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง ที่มีชื่อเรียกว่า "ห้วยยอด" เนื่องมาจากภูมิประเทศของอำเภอห้วยยอด โดยคำว่า "ห้วย" หมายถึง ลำห้วยต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำตรัง อันเป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดที่พาดผ่านพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของอำเภอ ส่วนคำว่า "ยอด" หมายถึง ยอดเขาที่เรียงรายตลอดแนวทางด้านทิศตะวันออกของอำเภอ ซึ่งเรียกว่า ภูเขาบรรทัด โดยพื้นที่ห้วยน้ำและยอดเขาสลับกันไปมา จึงได้เรียกว่าห้วยยอดมาจนปัจจุบัน.

จังหวัดตรังและอำเภอห้วยยอด · อำเภอห้วยยอดและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาโยง

นาโยง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง เมื่อก่อนอำเภอนาโยงเป็นที่นาแปลงใหญ่ เรียกว่า "นาหลวง" หรือ "นาสามบึ้ง" และได้ตั้งเป็น กิ่งอำเภอนาโยง เมื่อวันที่ 1 เมษายน..

จังหวัดตรังและอำเภอนาโยง · อำเภอนาโยงและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

จังหวัดตรังและจังหวัดพัทลุง · จังหวัดพัทลุงและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

จังหวัดตรังและตำบล · ตำบลและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

จังหวัดตรังและประเทศมาเลเซีย · ประเทศมาเลเซียและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง

จังหวัดตรัง มี 87 ความสัมพันธ์ขณะที่ อำเภอเมืองตรัง มี 36 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 11.38% = 14 / (87 + 36)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดตรังและอำเภอเมืองตรัง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »