โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดกาฬสินธุ์

ดัชนี จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

143 ความสัมพันธ์: บัณฑูร สุภัควณิชชิงชัย มงคลธรรมบุญรื่น ศรีธเรศชูพงษ์ ช่างปรุงฟุตบอลทีมชาติไทยฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปีฟ้าแดดสงยางพ.ศ. 2336พ.ศ. 2437พ.ศ. 2456พ.ศ. 2474พ.ศ. 2476พ.ศ. 2490พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตรายพระญาณวิสาลเถร (หา สุภโร)พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร)พระยาชัยสุนทร (เก ณ กาฬสินธุ์)พระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร)พระสุนทรธรรมประพุทธ์ (เกษร ฐานิสฺสโร)พระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพยสาร)พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต)พะยอมพิเชษฐ์ กองการพีระเพชร ศิริกุลกรุงเทพมหานครกิตติคุณ แจ่มสุวรรณกุ้งก้ามกรามฐากร ตัณฑสิทธิ์ฐิติชล สิงห์วังชาภาคอีสาน (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมะหาดมันสำปะหลังยางพารารัชฎาภรณ์ แก้วสนิทรายชื่อวัดในจังหวัดกาฬสินธุ์รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกาฬสินธุ์รำแพรวากาฬสินธุ์วัดกลาง (จังหวัดกาฬสินธุ์)วัดสุทธจินดาวรวิหารวัดประชานิยม (จังหวัดกาฬสินธุ์)วิบูลย์ แช่มชื่นวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์...วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าวศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธุ์สมพงษ์ คุนาประถมสมศักดิ์ สุวรรณสุจริตสวนสะออนสะพานเทพสุดาสังข์ทอง ศรีธเรศสำนักงบประมาณสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูลสุขุมพงศ์ โง่นคำสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐส้มตำหมู่บ้านอลงกต คำโสภาอำเภออำเภอกมลาไสยอำเภอกุฉินารายณ์อำเภอยางตลาดอำเภอร่องคำอำเภอสมเด็จอำเภอสหัสขันธ์อำเภอสามชัยอำเภอหนองกุงศรีอำเภอห้วยผึ้งอำเภอห้วยเม็กอำเภอท่าคันโทอำเภอดอนจานอำเภอคำม่วงอำเภอฆ้องชัยอำเภอนามนอำเภอนาคูอำเภอเมืองกาฬสินธุ์อำเภอเขาวงอุทยานแห่งชาติภูพานอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็กอู๊ด เป็นต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลอ้อยฮันนี่ ศรีอีสานผ้าไหมแพรวาจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมุกดาหารจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดสกลนครจังหวัดอุดรธานีจังหวัดของประเทศไทยจังหวัดขอนแก่นธนพล อินทฤทธิ์ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 213ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227ข้าวคมเดช ไชยศิวามงคลคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลปฐมศึก ปฐมโพธิ์ทองประเสริฐ บุญเรืองประเทศไทยป่าชุมชนนฤพล อารมณ์สวะนิพนธ์ ศรีธเรศแก้วกัลยา กมุลทะลาแสงอรุณ บุญยู้ใหม่ ศิรินวกุลโชติทิวัตถ์ ผลรัศมีโปงลางไทดำไดโนเสาร์เศรษฐพงศ์ เพียงพอเทศบาลตำบลเทศบาลตำบลกุดจิกเทศบาลตำบลร่องคำเทศบาลตำบลหนองบัวเทศบาลตำบลโพนทองเทศบาลตำบลโนนศิลาเทศบาลตำบลโนนสูงเทศบาลตำบลเชียงเครือเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองบัวขาวเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เขื่อนลำปาวเปลื้อง ฉายรัศมี1 สิงหาคม18 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (93 มากกว่า) »

บัณฑูร สุภัควณิช

ัณฑูร สุภัควณิช (13 เมษายน พ.ศ. 2492 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และบัณฑูร สุภัควณิช · ดูเพิ่มเติม »

ชิงชัย มงคลธรรม

นายชิงชัย มงคลธรรม หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และชิงชัย มงคลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

บุญรื่น ศรีธเรศ

นางบุญรื่น ศรีธเรศ (สกุลเดิม มัธยมนันทน์) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และบุญรื่น ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

ชูพงษ์ ช่างปรุง

ูพงษ์ ช่างปรุง หรือ เดี่ยว ชูพงษ์ (เกิด 23 มีนาคม พ.ศ. 2524) เป็นนักแสดงภาพยนตร์แอ็คชั่น เชี่ยวชาญการแสดงศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวและเคยเป็นนักแสดงสตันท์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เริ่มเข้าสู่วงการแสดง โดยเป็นนักแสดงผาดโผนในทีมงานของพันนา ฤทธิไกร ชูพงษ์เริ่มผลงานทางการแสดงจากการเป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์เรื่อง องค์บาก ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และชูพงษ์ ช่างปรุง · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี เป็นฟุตบอลทีมชาติไทยในรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าแดดสงยาง

มืองฟ้าแดดสงยาง เป็นเมืองโบราณ ตั้งอยู่ในอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันเหลือแต่ซากอิฐปนดิน มีคูเมืองสองชั้น มีลักษณะเป็นท้องน้ำ นอกจากนี้ยังมี พระธาตุยาคู ผังเมืองรูปไข่แบบทวาราวดี แต่มีตัวเมืองสองชั้น เชื่อว่าเกิดจากการขยายตัวเมือง มีการขุดพบใบเสมาหินทรายมีลวดลายบ้าง ไม่มีบ้าง ที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมศิลปากร 130 แผ่น.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และฟ้าแดดสงยาง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพ.ศ. 2437 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย

ระพุทธสัมฤทธิ์นิโรคันตราย หรือหลวงพ่อองค์ดำ หรือหลวงพ่อองค์ดำ-ซุ่มเย็น เป็นพระพุทธรูปคู่บ้าน คู่เมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ หล่อด้วยคำแดง (ตัมพะโลหะ) ราวจุลศักราช 172 เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 41 เซนติเมตร ความสูงจากฐานถึงยอดพระเมาลี 75 เซนติเมตร พุทธลักษณะเป็นงานช่างที่เก่าแก่มาก ใต้ฐานพระพุทธรูปมีอักษรจารึก (อักษรธรรม) กล่าวถึงประวัติศาสตร์และตำนานการสร้างโดยเจ้าครูนาขาม (กิว) เป็นประธานในการหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิสาลเถร (หา สุภโร)

ระญาณวิสาลเถร (หา สุภโร) หรือ หลวงปู่ไดโนเสาร์ พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระญาณวิสาลเถร เจ้าอาวาสวัดสักกะวัน (ภูกุ้มข้าว) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ และอดีตรองเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า และได้ค้นพบกระดูกไดโนเสาร์ ทำให้มีการขุดค้น โดยเป็นแหล่งไดโนเสาร์กินพืชที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศไทย และยังมีการสร้างพิพิธภัณฑ์สิรินธร บริเวณที่ขุดค้นพบอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระญาณวิสาลเถร (หา สุภโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร)

อนุสาวรีย์พระยาชัยสุนทร (ท้าวโสมพะมิต) อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) หรือพระยาไชยสุนทร เดิมพระนามว่า เจ้าโสมพะมิตร หรือ ท้าวโสมพะมิตร ในเอกสารพื้นเมืองเวียงจันทน์ออกพระนามว่า ท้าวโสมบพิตร ส่วนพงศาวดารเมืองกาฬสินธุ์และเมืองกมลาสัยออกพระนามว่า พระยาสมพมิษ ทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองกาฬสินธุ์ (กาละสินธ์ หรือ กาลสิน) พระองค์แรกและทรงเป็นเจ้าผู้สร้างเมืองกาฬสินธุ์ ปัจจุบันคือจังหวัดกาฬสินธุ์ในภาคอีสานของประเทศไทย เดิมรับราชการในราชสำนักนครเวียงจันทน์เป็นที่พญาโสมพะมิตร ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ของสยามให้เป็นเจ้าเมืองกาฬสินธุ์พระองค์แรกในฐานะเมืองประเทศราช พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) ทรงเป็นต้นสกุล วงศ์กาฬสินธุ์ ศรีกาฬสินธุ์ พิมพะนิตย์ พูลวัฒน์ อักขราสา และสกุล วงศ์กมลาไสย หรือ วงศ์กาไสย อีกทั้งทรงเป็นพระราชเชษฐาในเจ้าเมืองแสนฆองโปง ต้นสกุลพระราชทาน ณ กาฬสินธุ์ แห่งจังหวัดกาฬสินธุ์อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาชัยสุนทร (เก ณ กาฬสินธุ์)

ระยาชัยสุนทร (เก ณ กาฬสินธุ์) นามเดิมว่า ท้าวเก เป็นเจ้าเมืองกาฬสินธุ์องค์ที่ 12 (พ.ศ. 2433–2437) หรือเป็นเจ้าเมืองกาฬสินธุ์องค์สุดท้ายก่อนปฏิรูปการปกครองเป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล (พ.ศ. 2444) เป็นผู้ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามสกุล ณ กาฬสินธุ์ และนับได้ว่าเป็นต้นตระกูล ณ กาฬสินธุ์ แห่งจังหวัดกาฬสินธุ์ในปัจจุบันด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระยาชัยสุนทร (เก ณ กาฬสินธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร)

หลวงพ่อหนูอินทร์ กิตติสาโร (18 มกราคม พ.ศ. 2479 —) พระภิกษุเรืองเวทย์แห่งภาคอีสาน ที่เพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติครบถ้วนในสมณรูป มีความเมตตาต่อผู้ตกทุกข์ได้ยาก สมัยนั้นหลายคนไม่ค่อยเลื่อมใส เนื่องจากท่านดูแลดูเป็นพระหนุ่มมากเกินไป จึงนำพระเครื่องของท่านไปทดลอง ปรากฏว่า ยิงไม่ออก และมีคนถูกกับระเบิดแต่หาได้รับอันตรายไม่ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ เจ้าอาวาสวัดป่าพุทธมงคล ที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น และเจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ แห่งที่ 1 ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นราช มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระราชศีลโสภิต วรกิจจานุกิจธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิต ณ วัดป่าพุทธมงคล จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระราชศีลโสภิต (หนูอินทร์ กิตฺติสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุนทรธรรมประพุทธ์ (เกษร ฐานิสฺสโร)

ระสุนทรธรรมประพุทธ์ (เกษร ฐานิสฺสโร) (19 ตุลาคม พ.ศ. 2481- ปัจจุบัน) พระภิกษุในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นอดีตเจ้าคณะอำเภอยางตลาดและอดีตเจ้าอาวาสวัดอร่ามมงคล อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์และเจ้าอาวาสวัดเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทาน ตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ(สย.) เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระสุนทรธรรมประพุทธ์ (เกษร ฐานิสฺสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพยสาร)

ระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพย์สาร) ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ระหว่างพุทธศักราช 2474-2476 และดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสิน..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)

หลวงปู่เขียน ฐิตสีโล (29 ตุลาคม พ.ศ. 2456 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) เป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระอริยเวที อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา อดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า รวมทั้ง เป็นเพื่อนสหธรรมิกกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ตั้งแต่ครั้งสมัยที่ท่านทั้งสามยังมีอายุพรรษาไม่มากนัก.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 30 มกราคม พ.ศ. 2554...เป็นพระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดป่าบ้านตาด (วัดเกษรศีลคุณ) เป็นวิปัสสนาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ศิษย์ของพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต ซึ่งมีโอกาสอุปฐากรับใช้หลวงปู่มั่นในช่วงปัจฉิมวัยและเป็นผู้หนึ่งที่ได้บันทึกประวัติของหลวงปู่มั่นโดยละเอียดในเวลาต่อมา หลวงตามหาบัวเป็นที่รู้จักในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานผู้มีปฏิปทาที่มั่นคง แน่วแน่ เด็ดขาด และจริงจัง บรรดาศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่มั่นต่างนับถือกันว่าท่านเป็นลูกศิษย์องค์หนึ่งที่มีปฏิปทาที่คล้ายคลึงกับหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต การกล่าวขวัญถึงท่านในหมู่ผู้ศรัทธามีหลายเรื่องค่อนไปในเชิงอภินิหาร เช่น การล่วงรู้วาระจิตของบุคคลอื่น การที่เศษผม เศษเล็บ และชานหมากของท่านกลายเป็นพระธาตุไปตั้งแต่ครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่เป็นต้น หลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 หลวงตามหาบัวได้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นทั้งในและนอกประเทศ จากการที่ท่านได้ดำเนินการทอดผ้าป่าทองคำและเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ภายใต้ชื่อ "โครงการผ้าป่าช่วยชาติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน" เพื่อใช้เป็นทุนสำรองของประเทศไทย ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้ได้ดำเนินการมาโดยตลอดในช่วงปัจฉิมวัยของท่าน อย่างไรก็ตาม ในช่วงปัจฉิมวัยนี้เองได้มีเหตุการณ์ที่ทำให้ท่านตกเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่าท่านเข้ามายุ่งเกี่ยวทางการเมืองจากนักวิชาการและนักสื่อสารมวลชนจำนวนหนึ่ง เช่น ประเด็นการคัดค้านการรวมบัญชีเงินทุนสำรองของประเทศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ประเด็นการคัดค้านการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสงฆ์ฉบับใหม่ และการเทศนาวิพากษ์วิจารณ์ทักษิณ ชินวัตร ครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีช่วง พ.ศ. 2548 เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)

ระธรรมวงศาจรย์ (สุข สุขโณ) หรือ หลวงปู่สุข (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554)พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระธรรมวงศาจารย์ สุวิธาน ปริยัติกิจ อนุสิฐธรรมสุนทร ปสาทกร ภาวนาวิสิฐ มหาคณิสรร บวรสังฆาราม คามวาสี อดีตเจ้าอาวาสวัดกลาง จังหวัดกาฬสินธุ์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต)

ระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต) (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2487-)พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระเทพปัญญาเมธี ปรีชาศาสนกิจดิลก ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าอาวาสวัดกลาง จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพระเทพปัญญาเมธี (ปราชญ์ อกฺกโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

พะยอม

อม เป็นไม้ยืนต้นประเภทพืชใบเลี้ยงคู่ชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae พบได้ในกัมพูชา, อินเดีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, ไทย และเวียดนาม มีลักษณะใบที่เรียงสลับกัน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม นิยมนำเนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง ลักษณะคล้ายกับต้นตะเคียน พะยอมมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีก คือ กะยอม (เชียงใหม่) ชะยอม (ลาว) กะยอม (อีสาน) ขะยอมดง พะยอมดง (ภาคเหนือ) แคน (ร้อยเอ็ด) เชียง เชี่ยว (กะเหรี่ยง - เชียงใหม่) พะยอม (ภาคกลาง) พะยอมทอง (สุราษฎร์ธานี ปราจีนบุรี) ยางหยวก (น่าน).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพะยอม · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ์ กองการ

ษฐ์ กองการ ชื่อเล่น ตุ๊ก ส่วนสูง 176 ซม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพิเชษฐ์ กองการ · ดูเพิ่มเติม »

พีระเพชร ศิริกุล

นายพีระเพชร ศิริกุล (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และพีระเพชร ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ

กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2527 เป็นนักฟุตบอลไทย เกิดที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก ตำแหน่ง ผู้รักษาประตู.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และกิตติคุณ แจ่มสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

กุ้งก้ามกราม

กุ้งก้ามกราม หรือ กุ้งก้ามคราม กุ้งน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Palaemonidae มีเปลือกสีเขียวอมฟ้าหรือม่วง ก้ามยาวมีสีครามหรือม่วงเข้ม ตลอดทั้งก้ามมีปุ่มตะปุ่มตะป่ำ โดยธรรมชาติจะอยู่ในแม่น้ำลำคลอง แทบทุกจังหวัดในภาคกลางและภาคใต้ของประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ในทุกประเทศของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก จนถึงตอนเหนือของออสเตรเลียและฟิลิปปินส์ โดยพบทั้งในน้ำจืดและน้ำกร่อย วางไข่ในน้ำกร่อยที่เค็มจัด อาหารได้แก่ ไส้เดือน, ตัวอ่อนของลูกน้ำ, ลูกไร, ลูกปลาขนาดเล็ก, ซากของสัตว์ต่าง ๆ และในบางโอกาสก็กินพวกเดียวกันเอง พบชุกชุมทำให้จับง่าย โดยเฉพาะในฤดูหนาว ด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ทำให้ปริมาณในธรรมชาติลดน้อยลง ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายในจังหวัดต่าง ๆ แถบภาคกลางของไทย เช่น สุพรรณบุรี, นครปฐม, ฉะเชิงเทรา และต่างประเทศด้วย เช่น ที่สหรัฐอเมริกา เป็นต้น โดยที่กุ้งก้ามกรามชนิดที่พบในประเทศไทย ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า M. dacqueti ส่วนชนิดที่ใช้ชื่อว่า M. rosenbergii เป็นชนิดที่พบในภูมิภาคปาปัวนิวกินี แต่ปัจจุบันถือว่าเป็นชนิดเดียวกันหรือเป็นชื่อพ้อง กุ้งก้ามกรามมีความยาวประมาณ 13 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 ฟุต น้ำหนักราว 1 กิโลกรัม เป็นกุ้งที่ถูกใช้ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ, เผา หรือทอด เป็นต้น เพราะเนื้อมีมาก เนื้อแน่น มัน อร่อย ทำให้มีราคาที่ขายสูง ปัจจุบันยังนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์น้ำสวยงามด้วย กุ้งก้ามกรามมีชื่อเรียกที่ต่างออกไปมากมาย เช่น "กุ้งแม่น้ำ", "กุ้งหลวง" ขณะที่กุ้งตัวเมียที่มีขนาดลำตัวเล็กกว่า เรียก "กุ้งนาง" เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และกุ้งก้ามกราม · ดูเพิ่มเติม »

ฐากร ตัณฑสิทธิ์

กร ตัณฑสิทธิ์ ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) หรือ เลขาธิการ กท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และฐากร ตัณฑสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐิติชล สิงห์วังชา

ติชล สิงห์วังชา หรือนายสายชล โรจนาศรี เป็นชาวจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และฐิติชล สิงห์วังชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (Kalasin University) คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐตั้งอยู่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการจัดโครงสร้างการเรียนการสอนแบ่งเป็น 9 คณะ จำนวนหลักสูตรทั้งสิ้น 67 หลักสูตร โดยแบ่งเป็น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงจำนวน 10 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จำนวน 11 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จำนวน 1 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี จำนวน 32 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 5 ปี จำนวน 6 หลักสูตร และระดับปริญญาโท จำนวน 7 หลักสูตร.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มะหาด

มะหาด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae ต้นกำเนิดจากภูมิภาคเอเชียใต้ นิยมปลูกเอาไว้ใช้ประโยชน์ทุกส่วนของต้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทราย, ดินร่วนปนทราย, ดินร่วน และ ดินเหนียว มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีมาก ชอบบริเวณที่มีความชื้นสูงและแสงแดดเข้าถึงได้น้อย มักขึ้นกระจายตามป่าดิบทั่วไป.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และมะหาด · ดูเพิ่มเติม »

มันสำปะหลัง

''Manihot esculenta'' มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง เป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง ชื่อสามัญเรียกหลายชื่อเช่น Cassava, Yuca, Mandioa, Manioc, Tapioca ชาวไทยเดิมเรียกกันว่า มันสำโรง มันไม้ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า มันต้นเตี้ย ภาคใต้เรียกมันเทศ (แต่เรียกมันเทศว่า "มันหลา") คำว่า "สำปะหลัง" ที่นิยมเรียกอาจมาจากคำว่า "ซำเปอ (Sampou)" ของชวาตะวันตก มันสำปะหลังมีแหล่งกำเนิดแถบที่ลุ่มเขตร้อน (Lowland tropics) มีหลักฐานแสดงว่าปลูกกันในโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา มานานกว่า 3,000-7,000 ปีมาแล้ว นิยมใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ สามารถปลูกได้ง่ายในพื้นที่ร้อน และร้อนชื้น จึงได้มีการสนับสนุนแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีสภาพภูมิอากาศดังกล่าวปลูกเป็นพืชเศรษฐก.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และมันสำปะหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และยางพารา · ดูเพิ่มเติม »

รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท (5 เมษายน พ.ศ. 2495-) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตนักศึกษาหลบหนีเข้าป่าจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 "สหายศรัทธา" เป็นชื่อจัดตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดกาฬสินธุ์

รายชื่อวัดในจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และรายชื่อวัดในจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกาฬสินธุ์

มิตภาพที่32 ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รำแพรวากาฬสินธุ์

รำแพรวากาฬสินธุ์ เป็นการรำเพื่อให้เห็นถึงความงดงามของผ้าไหมแพรวา ซึ่งเป็นงานหัตถกรรมของชาวภูไทในจังหวัดกาฬสินธุ์ ท่ารำจะสื่อให้เห็นวิธีการทอผ้า ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับการฟ้อนสาวไหมของทางภาคเหนือซึ่งแสดงให้เห็นถึงกิริยาการทอผ้าไหมเช่นกัน และท่ารำนี้ยังสื่อให้เห็นความสวยงามของผ้าไหมแพรวา โดยการแต่งกายผู้แสดงจะแต่งกายด้วยการใช้ผ้าแพรวาสีต่างๆ พันอก รำแพรวากาฬสินธุ์ได้ประดิษฐ์คิดค้นการแสดงโดย คณาจารย์ภาควิชานาฏศิลป์และดุริยางค์ โดยการควบคุมของ นายสิริชัย นักจำรูญ ผู้อำนวยการจากวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ในปี พ.ศ. 2534 เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ มีพระชนมายุครบ 60 พรรษ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และรำแพรวากาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดกลาง (จังหวัดกาฬสินธุ์)

วัดกลาง เป็น พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิด สามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 47 ถนนกาฬสินธุ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2387 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2480 และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญเมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บนพื้นที่ 7 ไร่ 2 งาน 55 ตารางวา เป็นวัดที่มีเฉพาะพื้นที่ตั้งวัดเท่านั้น ไม่มีธรณีสงฆ์ หรือ กัลปนา โดยประดิษฐานพระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย หรือหลวงพ่อองค์ดำ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวัดกลาง (จังหวัดกาฬสินธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทธจินดาวรวิหาร

วัดสุทธจินดาวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2470 ตกมาและปักเขตเสร็จปี พ.ศ. 2471 มีเขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตรยาว 80 เมตร ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 11 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 และได้สถาปนาเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2478 ในรัชกาลที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 24 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ด้านทิศตะวันดก ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดคือ พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวัดสุทธจินดาวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดประชานิยม (จังหวัดกาฬสินธุ์)

วัดประชานิยม ตั้งอยู่เลขที่ ๘๔ ถนนถีนานนท์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันมี พระเทพสารเมธี (บัวศรี ชุตินฺธโร) เป็นเจ้าอาวาส เป็นสถานที่ตั้งของ โรงเรียนพระปริยัติสามัญวัดประชานิยม และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ ที่ดินที่ตั้งวัดเนื้อที่ ๓๓ ไร่ ๒ งาน ๕๕ ตารางวา ตาม โฉนดที่ดิน เลขที่ ๒๐๒๗.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวัดประชานิยม (จังหวัดกาฬสินธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

วิบูลย์ แช่มชื่น

ตราจารย์ ดร.วิบูลย์ แช่มชื่น (Professor Dr.Wiboon Shamsheun) อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวิบูลย์ แช่มชื่น · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ หรือวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ (Kalasin College of Dramatic Arts) เป็นวิทยาลัยนาฏศิลป หนึ่งในสิบสองแห่งทั่วประเทศ โดยการจัดตั้ง วันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓

วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ (อังกฤษ : Kalasin Technical College ) เป็นวิทยาลัยด้านช่างอุตสาหกรรม สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ · ดูเพิ่มเติม »

วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์

นายวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กาฬสินธุ์ เขต 2 พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว

ูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว หรือ พิพิธภัณฑ์สิรินธร (Sirindhorn Museum) เป็นศูนย์วิจัยเกี่ยวกับไดโนเสาร์และ พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์แห่งแรกของประเทศไทย อยู่ที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์พลาดิสัย สิทธิธัญก.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธุ์

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ กระทรวงสาธารณสุข และเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์กับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ คุนาประถม

มพงษ์ คุนาประถม เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 เป็นคน ตำบลคำสร้างเที่ยง อำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษา ประถมศึกษาที่ร.ร.ท่านาจานวิทยา กิ่งอำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์ ม.4-6 และปว.จาก วิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ ปริญญาตรี คณะนาฏศิลป์และดุริยางค์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล คลอง 6 จังหวัดปทุมธานี โด่งดังตอนเข้ามาชนะการประกวดในช่วง ดันดารา ของรายการตีสิบ จนผู้ชมเรียกร้องให้ทางรายการนำวงโปงลางสะออนกลับมาแสดงอีกครั้งถึง 2 รอบ ก่อนจะเซ็นสัญญากับค่ายอาร์สยาม ในเครือบริษัทอาร์เอ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสมพงษ์ คุนาประถม · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ สุวรรณสุจริต

นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต (14 ตุลาคม 2498 -) ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ดูแลพื้นที่ในช่วงเหตุการณ์ปะทะตามแนวชายแดนไทย-กัมพู..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต · ดูเพิ่มเติม »

สวนสะออน

วนสะออน ตั้งอยู่ใกล้กับ เขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุิ์ เป็นสถานีศึกษาธรรมชาติ และ สัตว์ป่าลำปาว (สวนสะออน) เป็นสวนป่าธรรมชาติอยู่ทางทิศเหนือของเขื่อนลำปาว มีเนื้อที่ประมาณ 1420 ไร่ สร้างขึ้นเพื่อคุ้มครองสัตว์ป่าและธรรมชาติ มีสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น วัวแดง อยู่ตามธรรมชาติเป็นฝูงใหญ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสวนสะออน · ดูเพิ่มเติม »

สะพานเทพสุดา

นเทพสุดา เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 2 ช่องจราจร ข้ามเขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์ จากบริเวณแหลมโนนวิเศษ ตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์ ถึงบริเวณเกาะมหาราช ตำบลหนองบัว อำเภอหนองกุงศรีเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2549 ใช้งบประมาณในการก่อสร้างทั้งสิ้น 498,850,000 บาท ความยาว 2,040 เมตร ถนนต่อเชื่อมโครงการผิวจราจรกว้าง 7 เมตร ไหล่ทางกว้างข้างละ 2.50 เมตร ภายใต้การกำกับดูแลของกรมทางหลวงชนบท สร้างเสร็จในเดือนธันวาคม 2553 ถือเป็นสะพานข้ามน้ำจืดที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สะพานเทพสุดา แห่งนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553 สะพานเทพสุดา ซึ่งหมายถึงสะพานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดสะพานเทพสุดาอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2554 เวลา 09.00 น. ณ บริเวณเชิงสะพานเทพสุดา อำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ รวมทั้งทอดพระเนตรนิทรรศการสะพานเทพสุดา สะพานเทพสุดา เป็นโครงข่ายเชื่อมเส้นทางคมนาคมขนส่งจาก จังหวัดหนองคาย อุดรธานี ผ่านจังหวัดกาฬสินธุ์ ไปยังจังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเป็นประตูสู่อินโดจีนหรืออีสต์เวสต์อีโคโนมิก คอริดอร์ จะช่วยร่นระยะทางได้กว่า 100 กิโลเมตร รวมถึงการขนส่งผลผลิตทางการเกษตรทางฝั่งตะวันตก อำเภอหนองกุงศรี อำเภอท่าคันโท ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ฝั่งตะวันออก อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอสมเด็จ อำเภอกุฉินารายณ์ และตัวจังหวัดกาฬสินธุ์ จะร่นระยะทางกว่า 80 กิโลเมตร นอกจากนี้ บนสะพานเทพสุดายังสามารถมองเห็นทัศนียภาพที่สวยงามบริเวณพื้นที่อ่างเก็บน้ำลำปาวได้อย่างชัดเจน สนับสนุนการท่องเที่ยวของจังหวัดกาฬสินธุ์ และการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทำให้ ประชาชนมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น ประกอบกับ อำเภอสหัสขันธ์ มีพิพิธภัณฑ์สิรินธร (ภูกุ้มข้าว) ซึ่งเป็นแหล่งค้นพบชิ้นส่วนกระดูกไดโนเสาร์ที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย ทั้งนี้ได้ออกแบบประติมากรรมรูปหล่อไดโนเสาร์ ติดตั้งบริเวณราวสะพานทั้ง 2 ข้าง เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดกาฬสินธุ์ อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสะพานเทพสุดา · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ทอง ศรีธเรศ

ังข์ทอง ศรีธเรศ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 7 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสังข์ทอง ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงบประมาณ

ำนักงบประมาณ (Bureau of the Budget) เป็นหน่วยงานราชการ มีฐานะเทียบเท่ากรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นหน่วยกลางในการจัดทำงบประมาณแผ่นดิน เพื่อเสนอนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ก่อนที่รัฐบาลจะนำเสนอรัฐสภา เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ประกาศใช้เป็น พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี สำหรับใช้จ่ายในปีต่อไป.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสำนักงบประมาณ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล

นายสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล (18 มีนาคม 2506 -) เป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สุขุมพงศ์ โง่นคำ

นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ในรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสุขุมพงศ์ โง่นคำ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Bunditpatanasilpa Institute; ชื่อย่อ: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓

ันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ (อังกฤษ: Institute of Vocational education: Northeastern Region 3) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เกิดจากการรวมตัวกันของ วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา และวิทยาลัยการอาชีพในกลุ่ม (จังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์) กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เพื่อทำหน้าที่ผลิตปัญญาชน คนอาชีวศึกษาสู่ตลาดแรงงานซึ่งในปัจจุบันถือว่ามีความต้องการสูง และเพิ่มอัตรากำลังคนอาชีวศึกษาให้ได้รับการศึกษาขั้นสูง โดยเปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี (สายปฏิบัติการ) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยมีศูนย์กลางที่อยู่ภายในวิทยาลัยเทคนิคมหาสาคาม จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ส้มตำ

้มตำ เป็นอาหารปรุงมาจากการทำตำส้ม คือการทำให้เปรี้ยว ในลาวจะเรียกว่าตำหมากหุ่ง ปรุงโดยนำมะละกอดิบที่สับแล้วฝานหรือขูดเป็นเส้นมาตำในครกเป็นหลัก พร้อมด้วยวัตถุดิบอื่นๆ คือ มะเขือเทศลูกเล็ก มะเขือสีดา มะเขือเปราะ พริกสดหรือพริกแห้ง ถั่วฝักยาว กระเทียม และปรุงรสด้วยน้ำตาลปี๊บและน้ำปลา มะนาว อนึ่ง ส้มตำไม่ใช่อาหารดั้งเดิมของชนชาติลาวตามที่คนลาวบางส่วนเข้าใจกัน เพราะเครื่องปรุงหลายอย่าง ทั้งมะละกอ พริก ได้รับมาจากต่างประเทศโดยทางเรือในสมัยโบราณ ส่วนน้ำปลาต้องใช้ปลาทะเลในการทำ และคำเรียกส้มตำในลาวคือตำหมากหุ่งส่วนในไทยเรียกส้มตำ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และส้มตำ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อลงกต คำโสภา

อลงกต คำโสภา(16 มีนาคม 2475 -) ข้าราชการครูบำนาญ อดีตครูโรงเรียนชุมชนหนองสอวิทยาคาร นักอนุรักษ์โปงลางและครูสอนโปงลางกว่า 35 ปี เป็นบุคคลที่ก่อตั้งวงโปงลางบ้านหนองสอจนได้รับชนะเลิศลำดับที่ 1 ประเภทประชาชนทั่วไป เป็นถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2517.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอลงกต คำโสภา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกมลาไสย

กมลาไสย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอกมลาไสย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกุฉินารายณ์

กุฉินารายณ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอกุฉินารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยางตลาด

งตลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอยางตลาด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอร่องคำ

อำเภอร่องคำ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ แยกตั้วเป็นกิ่งอำเภอในปี..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอร่องคำ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสมเด็จ

มเด็จ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอสมเด็จ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสหัสขันธ์

หัสขันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอสหัสขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามชัย

อำเภอสามชัย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอสามชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองกุงศรี

หนองกุงศรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอหนองกุงศรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยผึ้ง

ห้วยผึ้ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอห้วยผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยเม็ก

ห้วยเม็ก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอห้วยเม็ก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าคันโท

ท่าคันโท เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอท่าคันโท · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอนจาน

อนจาน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอดอนจาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคำม่วง

ำม่วง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอคำม่วง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอฆ้องชัย

้องชัย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอฆ้องชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนามน

นามน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยยกฐานะจาก กิ่งอำเภอนามน เป็นอำเภอ เมื่อ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอนามน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาคู

นาคู เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอนาคู · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองกาฬสินธุ์

มืองกาฬสินธุ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาวง

วง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ทำการเกษตร ปลูกข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวผู้ไท พูดภาษาผู้ไท มีอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ และหัตถกรรม ทอผ้า ทำเครื่องจักสาน และไม้กว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอำเภอเขาวง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติภูพาน

ทิวทัศน์มองจากผาเสวย น้ำตกแก้งกะอาม อุทยานแห่งชาติภูพาน เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดสกลนครและจังหวัดกาฬสินธุ์ อุทยานแห่งชาติภูพาน ปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอพรรณานิคม อำเภอเมือง อำเภอกุดบาก อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร อำเภอสมเด็จ อำเภอห้วยผึ้ง จังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วยป่าที่อุดมสมบูรณ์และมีธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำตก ถ้ำ หน้าผาทิวทัศน์ตามธรรมชาติ ตลอดจนพื้นป่าแห่งนี้ในอดีตได้ชื่อว่าเป็นปัญหาทางด้านการเมือง และในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ยังเป็นแหล่งสะสมอาวุธยุทธภัณฑ์ที่ใช้สำหรับต่อต้านทหารกองทัพญี่ปุ่นซึ่ง นับเป็นประวัติศาสตร์ มีเนื้อที่ประมาณ 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กำหนดป่าเขาภูพานหรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “ป่าเขาชมภูพาน” จังหวัดสกลนคร และจังหวัดกาฬสินธุ์ และป่าอื่นๆ ในท้องที่จังหวัดต่างๆ รวม 14 ป่า เป็นอุทยานแห่งชาติเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้เป็นการถาวรเพื่อ ประโยชน์ส่วนรวม กรมป่าไม้ได้เสนอจัดตั้งป่าภูพานเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 244 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2515 กำหนดบริเวณที่ดินป่าภูพานในท้องที่ตำบลนาใน ตำบลไร่ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม ตำบลโคกภู ตำบลนาม่อง อำเภอกุดบาก และตำบลห้วยยาง ตำบลพังขว้าง อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร และตำบลแซงบาดาล อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ เนื้อที่ 418,125 ไร่ หรือ 669 ตารางกิโลเมตร เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 89 ตอนที่ 170 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน 2515 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 7 ของประเทศ จังหวัดกาฬสินธุ์ได้มีหนังสือที่ กส 09/598 ลงวันที่ 12 มกราคม 2516 รายงานว่า ตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 244 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2515 กำหนดให้ที่ดินป่าภูพานเป็นอุทยานแห่งชาตินั้น ปรากฏว่ามีพื้นที่บางส่วนในบางตำบลของจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นเขตอุทยานแห่ง ชาติแต่ไม่ได้ระบุชื่อตำบลลงไว้ กรมป่าไม้จึงได้ดำเนินการตรวจสอบแนวเขตอุทยานแห่งชาติใหม่ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกายกเลิกประกาศคณะปฏิวัติ และกำหนดบริเวณที่ดินป่าภูพานในท้องที่ตำบลนาใน ตำบลไร่ ตำบลนาหัวบ่อ อำเภอพรรณานิคม ตำบลพังขว้าง ตำบลห้วยยาง อำเภอเมือง ตำบลนาม่อง ตำบลโคกภู อำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร และตำบลแซงบาดาล อำเภอสมเด็จ ตำบลคำบง อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอนที่ 106 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2518 กรมป่าไม้ดำเนินการรังวัดแนวเขตของพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูพาน เพื่อทำการขอเพิกถอนแนวเขตอุทยานแห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2520 ซึ่งอนุมัติในหลักการให้เพิกถอนพื้นที่บริเวณบ่อหิน เนื้อที่ไม่เกิน 5 ไร่ คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2521 เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2521 ให้กรมป่าไม้ดำเนินการเพิกถอนพื้นที่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ สำนักสงฆ์ถ้ำขาม (หลวงปู่ฝั้น) และอ่างเก็บน้ำห้วยแข้ ออกจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูพาน แต่เนื่องจากแนวเขตอุทยานแห่งชาติตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณ ที่ดินป่าภูพานให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอุทยานแห่งชาติภูพาน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก

อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก ตั้งอยู่ที่บ้านท่าวัด ต.ปทุมวาปี อ.ส่องดาว จ.สกลนคร มีเนื้อที่ประมาณ 252,898 ไร่ หรือประมาณ 404 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอส่องดาว อำเภอวาริชภูมิ อำเภอนิคมน้ำอูน อำเภอกุดบาก อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี และอำเภอสมเด็จ อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงพันนา ป่าดงพระเจ้า ป่าภูวง ป่ากุดไห ป่านาใน ป่าโนนอุดม ป่าบะยาว ป่าหัวนาคำ ป่าหนองหญ้าไชย และป่าแก้งกะอาม ในปี 2538 กรมป่าไม้ได้มีคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ออกมาสำรวจข้อมูลเบื้องต้นในพื้นที่ ซึ่งต่อมาได้มีคำสั่งกรมป่าไม้ที่ 1162/2539 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2539 เรื่องให้ข้าราชการไปปฏิบัติราชการได้ให้นายพนม พงษ์สุวรรณ นักวิชาการป่าไม้ 7 ว. ส่วนอุทยานแห่งชาติ ไปดำเนินการสำรวจหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดตั้งพื้นที่ป่าอนุรักษ์บางส่วนของพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงพันนา ป่าดงพระเจ้า ท้องที่อำเภอส่องดาว ป่าภูวง ท้องที่อำเภอวาริชภูมิ อำเภอนิคมน้ำอูน อำเภอกุดบาก ป่าแก่งแคน ท้องที่อำเภอกุดบาก ป่าหนองหญ้าไซ ท้องที่อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดธานี ผนวกป่าสงวนแห่งชาติ ป่าภูพาน ท้องที่อำเภอคำม่วง อำเภอสมเด็จ ป่าแก้งกะอาม ท้องที่อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาต..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

อู๊ด เป็นต่อ

ีระชาติ ธีระวิทยากุล (เกิดเมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2519) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ อู๊ด เป็นต่อ เป็นนักแสดงตลกชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครซิทคอมเรื่อง เป็นต่อ ในบท "อู๊ด" ธีระชาติเป็นชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ ครอบครัวมีกิจการร้านซ่อมนาฬิกา มีความใฝ่ฝันที่จะเป็นนักดนตรีเพื่อชีวิตตั้งแต่เด็ก จึงออกจากบ้านไปเป็นลูกวงดนตรีกะท้อน และซูซู และตั้งวงดนตรีกับเพื่อนๆ สำเนาจาก, 1 กรกฎาคม 2552 หน้า 24 รวมถึงเป็นนักแสดงตลกคณะเหลือเฟือ มกจ๊ก โดยเล่นเป็นนักดนตรีเพื่อชีวิต "แอ๊ด มกจ๊ก" ล้อเลียน แอ๊ด คาราบาว การแสดงตลกในคณะเหลือเฟือ มกจ๊ก ไปสะดุดตาจิรศักดิ์ โย้จิ้ว ผู้กำกับละครซิทคอม เป็นต่อ จึงได้ติดต่อให้เข้ามาร่วมแสดง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอู๊ด เป็นต่อ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

อ้อย

อ้อย (อังกฤษ: Sugar-cane; ชื่อวิทยาศาสตร์: Saccharum officinarum  L.) เป็นพืชวงศ์ POACEAE วงศ์เดียวกับ ไผ่ หญ้าและธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าว ข้าวโพด และ ข้าวบาร์เลย์ มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในลำต้นอ้อยที่นำมาใช้ทำน้ำตาลมีปริมาณซูโครสประมาณ 17-35% ชานอ้อย (bagasse) ที่ถูกบีบเอาน้ำอ้อยออกไปแล้ว สามารถนำมาใช้ทำกระดาษ พลาสติก เป็นเชื้อเพลิง และอาหารสัตว์ ส่วนกากน้ำตาล (molasses) ที่แยกออกจากน้ำตาลในระหว่างการผลิต สามารถนำไปหมักเป็นเหล้ารัม (rum) ได้อีกด้วย อ้อยเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากเมื่อพิจารณาในแง่ของผลผลิต เพราะอ้อยสามารถใช้ปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโต เช่น แสงแดด น้ำ อากาศ และธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้อ้อยยังเป็นพืชที่ปลูกง่าย และเมื่อปลูกครั้งหนึ่งแล้ว สามารถเก็บเกี่ยวได้หลายครั้ง อ้อยชอบอากาศร้อนและชุ่มชื้น ดังนั้นประเทศที่ปลูกอ้อย ซึ่งมีประมาณ 70 ประเทศจึงอยู่ในแถบร้อนและชุ่มชื้นในระหว่างเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต้ ประเทศผู้ปลูกอ้อยที่สำคัญ ได้แก่ บราซิล คิวบา อินเดี.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และอ้อย · ดูเพิ่มเติม »

ฮันนี่ ศรีอีสาน

ันนี่ ศรีอีสาน (22 ตุลาคม พ.ศ. 2513–26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) เป็นนักร้องแนวเพลงลูกทุ่งหมอลำชื่อดัง เจ้าของเพลง "น้ำตาหล่นบนที่นอน" "วอนพี่มีรักเดียว" "สาวกาฬสินธุ์สิ้นหวัง".

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และฮันนี่ ศรีอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ผ้าไหมแพรวา

แพรวา เป็นผ้าทอมือของชาวผู้ไทในจังหวัดกาฬสินธุ์ มีลักษณะเช่นเดียวกับผ้าสไบ แต่มีสีสัน ลวดลาย ที่หลากหลายมากมาย และนิยมทอด้วยไหมทั้งผืน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และผ้าไหมแพรวา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมุกดาหาร

มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525 นับเป็นจังหวัดที่ 73 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ธนพล อินทฤทธิ์

นพล อินทฤทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นนักร้อง, นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และธนพล อินทฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 สายแม่สอด (เขตแดน)–มุกดาหาร เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญที่เชื่อมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย สายทางเริ่มต้นที่สะพานมิตรภาพไทย-พม่า อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และสิ้นสุดที่อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 793.391 กิโลเมตร อีกทั้งรัฐบาลยังวางแผนให้เป็นหนึ่งในถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก ที่เชื่อมระหว่างเมืองเมาะลำเลิง ประเทศพม่า และเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม นอกจากนี้เส้นทางหลวงแผ่นดินสายนี้ยังถือเป็นทางหลวงสายเอเชีย ได้แก่ ทางหลวงเอเชียสาย 1 และทางหลวงเอเชียสาย 16 อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 213

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 213 สายมหาสารคาม–สกลนคร เป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่งโดยเชื่อมต่อตัวเมืองมหาสารคาม ตัวเมืองกาฬสินธุ์ และตัวเมืองสกลนคร เข้าด้วยกัน แต่เดิมถนนสายนี้คือ ทางหลวงสายมหาสารคาม-กาฬสินธุ์-สกลนคร ซึ่งในประกาศราชกิจจานุเบกษาสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม 12 ธันวาคม 2493 ได้ขนานนามทางหลวงสายนี้ว่า ถนนถีนานนท์ เพื่อเป็นเกียรติแก่นายไสว ถีนานนท์ อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 213 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 สายกาฬสินธุ์–ช่องจอม เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง-ตอนล่าง โดยเริ่มจากเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยผ่านอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ อำเภอจังหาร อำเภอเมืองร้อยเอ็ด อำเภอจตุรพักตรพิมาน และอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด และ อำเภอท่าตูม อำเภอจอมพระ อำเถอเขวาสินรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ แล้วไปสิ้นสุดที่ด่านพรมแดนช่องจอม อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ชายแดนประเทศกัมพู.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227 สายกาฬสินธุ์–พังโคน เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวเหนือ-ใต้ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดกาฬสินธุ์กับจังหวัดสกลนคร และมีเส้นทางคาบเกี่ยวไปยังจังหวัดอุดรธานี มีระยะทางตลอดทั้งสาย 162.667 กิโลเมตร เส้นทางมีเริ่มต้นในทางทิศใต้ จากทางแยกระหว่างถนนบุญกว้างกับถนนอนรรฆนาค ในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ มุ่งไปยังทิศเหนือไปยังอำเภอสหัสขันธ์ เมื่อถึงตำบลโนนบุรี เส้นทางจะเลี้ยวไปทางขวาอ้อมเขื่อนลำปาว ผ่านบางส่วนของอำเภอสมเด็จ เข้าอำเภอคำม่วง อำเภอสามชัย แล้วเข้าเขตจังหวัดอุดรธานี ผ่านอำเภอวังสามหมอ แล้วเลี้ยวขวาขึ้นไปทางทิศเหนือไปยังจังหวัดสกลนคร ผ่านอำเภอวาริชภูมิ และสิ้นสุดที่อำเภอพังโคน และสามารถเชื่อมต่อกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 222 ไปยังจังหวัดบึงกาฬได้.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 227 · ดูเพิ่มเติม »

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และข้าว · ดูเพิ่มเติม »

คมเดช ไชยศิวามงคล

นายคมเดช ไชยศิวามงคล (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2498, ชื่อเดิม:เงิน ไชยศิวามงคล) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และคมเดช ไชยศิวามงคล · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมศึก ปฐมโพธิ์ทอง

ปฐมศึก ปฐมโพธิ์ทอง มีชื่อจริงว่า คมสัน พลแสน เกิดเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เคยเป็นแชมป์สหพันธ์มวยนานาชาติแพนแปซิฟิก (IBF Pan Pacific) ในรุ่นซูเปอร์ไลต์เวต (140 ปอนด์) และ แชมป์สภามวยโลกเอเชีย (WBC Asia) ในรุ่นซูเปอร์เวลเตอร์เวต (154 ปอนด์) ชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และปฐมศึก ปฐมโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ บุญเรือง

นายประเสริฐ บุญเรือง (เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และประเสริฐ บุญเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ป่าชุมชน

ป่าชุมชน หมายถึง พื้นที่ป่าไม้ที่ได้รับการจัดการโดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากประชาชน และองค์กรชุมชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม ตามความเชื่อและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เป็นป่าที่ประชาชนเข้าไปใช้สอยตามวิถีชีวิตของคนทุกคนในชุมชนนั้น ทั้งเรื่องการทำมาหากิน ระบบครอบครัวเครือญาติ ประเพณีความเชื่อ อำนาจและกฎระเบียบในชุมชน ป่าชุมชนจึงมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมินิเวศ และวัฒนธรรม ประเพณีของชุมชนในท้องถิ่น หมวดหมู่:ป่า หมวดหมู่:การอนุรักษ์.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และป่าชุมชน · ดูเพิ่มเติม »

นฤพล อารมณ์สวะ

นฤพล อารมณ์สวะ เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นเป็นผู้เล่นตำแหน่งกองกลางให้กับ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และนฤพล อารมณ์สวะ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ ศรีธเรศ

นายนิพนธ์ ศรีธเรศ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และนิพนธ์ ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

แก้วกัลยา กมุลทะลา

แก้วกัลยา กมุลทะลา เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย และเป็นผู้สร้างผลงานที่โดดเด่น ให้แก่สังกัดสโมสรไอเดีย-ขอนแก่น ร่วมกับทัดดาว นึกแจ้ง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และแก้วกัลยา กมุลทะลา · ดูเพิ่มเติม »

แสงอรุณ บุญยู้

แสงอรุณ บุญยู้ เป็นนักร้อง นางเอกหมอลำหนึ่งในสี่สาวดาวรุ่งจากคณะเสียงอิสานโด่งดังจากการได้เป็นนางเอกคู่ขวัญกับ ลูกแพร ไหมไทย อุไรพร แสงอรุณ บุญยู้ เกิดเมื่อ 28 พฤศจิกายน 1975 ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่บ้านโนนสมบูรณ์ ต.ลำปาว อ.เมือง.กาฬสินธุ์ มีชื่อเล่นว่า "ต๋อง" แต่แฟนเพลงต่างพากันรู้จักในชื่อ "อร" ซึ่งเป็นชื่อที่นกน้อย อุไรพรตั้งให้ เนื่องจากที่บ้านทำวงหมอลำอยู่แล้วเป็นทุนเดิม(วงขนาดเล็ก)ทำให้ได้ฝึกร้องฝึกลำมาตั้งแต่เด็ก พร้อมกับพี่สาว แพร พิมพร(ซึ่งปัจจุบันเป็นนางเอกหมอลำประจำคณะหนูภารวิเศษศิลป์).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และแสงอรุณ บุญยู้ · ดูเพิ่มเติม »

ใหม่ ศิรินวกุล

นายใหม่ ศิรินวกุล (15 มีนาคม พ.ศ. 2481 - 16 กันยายน พ.ศ. 2536) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 5 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และใหม่ ศิรินวกุล · ดูเพิ่มเติม »

โชติทิวัตถ์ ผลรัศมี

ติทิวัตถ์ ผลรัศมี (19 มีนาคม พ.ศ. 2541 -) ชื่อเล่น ทิว เป็นชาว ต.ดงพยุง อ.ดอนจาน.กาฬสินธุ์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนบ้านดงพยุงสงเคราะห์ และกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ โรงเรียนเมืองกาฬสินธุ์ ทิว โชติทิวัตถ์ ผลรัศมี เริ่มต้นชีวิตการแสดงจากภาพยนตร์เรื่อง ครูบ้านนอก บ้านหนองฮีใหญ่ ในปี 2553 รับบท..ปัญญา นักเรียนชั้น ป.4 เป็นตัวดำเนินเรื่องอีกคนหนึ่งของเรื่อง มีส่วนกับหลายๆฉากในเรื่อง ปีถัดมา ได้มีโอกาส รับบทพระเอกภาพยนตร์เป็นครั้งแรก โดยรับบท ปัญญา (อีกครั้ง) ในภาพยนตร์เรื่อง ปัญญา เรณู ในปี 2554 แสดงความสามารถอย่างโดดเด่นเกินวัย เข้าถึงอารมณ์ในทุกๆฉาก ถ่ายทอดอารมณ์ได้ดี ทั้งยังรับหน้าที่ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์อีกด้วย กลับมาอีกครั้งในภาพยนตร์เรื่อง ปัญญา เรณู 2 ภาพโปรเตอร์หนัง เรื่อง ปัญญา เรณู.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และโชติทิวัตถ์ ผลรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

โปงลาง

วนประกอบโปงลาง โปงลาง ดนตรีพื้นเมืองอีสานถือว่าจังหวะสำคัญมาก เครื่องดนตรีประเภทตีใช้ดำเนินทำนองอย่างเดียวคือ โปงลาง โปงลางมีวิวัฒนาการมาจากระฆังแขวนคอสัตว์เพื่อให้เกิดเสียงโปงลางที่ใช้บรรเลงอยู่ในภาคอีสานมี2 ชนิด คือ โปงลางไม้และโปงลางเหล็ก ภาพที่แสดงคือ โปงลางไม้ซึ่งประกอบด้วยลูกโปงลางประมาณสิบสองลูกเรียงตามลำดับเสียงสูง ต่ำ ใช้เชือกร้อยเป็นแผงระนาด แต่โปงลางไม่ใช้รางเพราะเห็นว่าเสียงดังอยู่แล้ว แต่นำมาแขวนกับที่แขวน ซึ่งยึดส่วนปลายกับส่วนโคนให้แผงโปงลางทำมุมกับพื้น 45องศา ไม้ตีโปงลางทำด้วยแก่นไม้มีหัวงอนคล้ายค้อนสำหรับผู้บรรเลงใช้ตีดำเนินทำนอง1 คู่ และอีก 1 คู่สำหรับผู้ช่วยใช้เคาะทำให้เกิดเสียงประสานและจังหวะตามลักษณะของดนตรีพื้นเมืองอีสานที่มีเสียงประสาน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และโปงลาง · ดูเพิ่มเติม »

ไทดำ

ทดำ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และไทดำ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนเสาร์

นเสาร์ (dinosaur) เป็นชื่อเรียกโดยรวมของสัตว์ดึกดำบรรพ์ในอันดับใหญ่ Dinosauria ซึ่งเคยครองระบบนิเวศบนพื้นพิภพ ในมหายุคมีโซโซอิก เป็นเวลานานถึง 165 ล้านปี ก่อนจะสูญพันธุ์ ไปเมื่อ 65 ล้านปีที่แล้ว คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลาน แต่อันที่จริงไดโนเสาร์เป็นสัตว์ในอันดับหนึ่งที่มีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างสัตว์เลื้อยคลานและนก คำว่า ไดโนเสาร์ ในภาษาอังกฤษ dinosaur ถูกตั้งขึ้นโดย เซอร์ ริชาร์ด โอเวน นักบรรพชีวินวิทยา ชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นการผสมของคำในภาษากรีกสองคำ คือคำว่า deinos (δεινός) (ใหญ่จนน่าสะพรึงกลัว) และคำว่า sauros (σαύρα) (สัตว์เลื้อยคลาน) หลายคนเข้าใจผิดว่า ไดโนเสาร์ คือสัตว์ที่อาศัยอยู่ในมหายุคมีโซโซอิกทั้งหมด แต่จริง ๆ แล้ว ไดโนเสาร์ คือสัตว์ชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่บนพื้นดินเท่านั้น สัตว์บกบางชนิดที่คล้ายไดโนเสาร์ สัตว์น้ำและสัตว์ปีกที่มีลักษณะคล้ายไดโนเสาร์ ไม่ถือว่าเป็นไดโนเสาร์ เป็นเพียงสัตว์ชนิดที่อาศัยอยู่ในยุคเดียวกับไดโนเสาร์เท่านั้น แม้ว่าไดโนเสาร์จะสูญพันธุ์ไปนานหลายล้านปีแล้ว แต่คำว่าไดโนเสาร์ก็ยังเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะไดโนเสาร์นั้นนับว่าเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง ที่เต็มไปด้วยปริศนาและความน่าอัศจรรย์เป็นอันมากนั่นเอง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และไดโนเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐพงศ์ เพียงพอ

รษฐพงศ์ เพียงพอ (ชื่อเล่น: เต๋า) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเศรษฐพงศ์ เพียงพอ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลกุดจิก

ทศบาลตำบลกุดจิก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลกุดจิก · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลร่องคำ

ทศบาลตำบลร่องคำ ตำบลร่องคำ อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลร่องคำทั้งตำบล เดิมเป็น สุขาภิบาลตำบลร่องคำ จัดตั้งตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการจดตั้งสุขาภิบาลร่องคำ อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ลงวันที่ 7 กรกฏาคม 2509 เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลร่องคำ เป็นเทศบาลตำลร่องคำ ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลร่องคำ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหนองบัว

ทศบาลตำบลหนองบัว สามารถหมายถึงเทศบาลตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ในเขตจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโพนทอง

ทศบาลตำบลโพนทอง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลโพนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโนนศิลา

ทศบาลตำบลโนนศิลา สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลโนนศิลา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโนนสูง

ทศบาลตำบลโนนสูง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลโนนสูง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลเชียงเครือ

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลตำบลเชียงเครือ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองบัวขาว

ทศบาลเมืองบัวขาว เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ครอบคลุมบางส่วนของตำบลบัวขาว ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาล และสาธารณ.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลเมืองบัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์

ทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลกาฬสินธุ์ทั้งตำบล ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดกาฬสินธุ์ มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร 513 กิโลเมตร ตำบลกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลข้างเคียง เรียงจากทิศเหนือตามเข็มนาฬิกา ได้แก่ ตำบลโพนทอง ตำบลหลุบ ตำบลเหนือ และตำบลลำพาน.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนลำปาว

ื่อนลำปาว เป็นเขื่อนดิน อยู่ในเขตอำเภอสหัสขันธ์, อำเภอคำม่วง, อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 36 กิโลเมตร เขื่อนลำปาวสร้างเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเขื่อนลำปาว · ดูเพิ่มเติม »

เปลื้อง ฉายรัศมี

ปลื้อง ฉายรัศมี ศิลปินแห่งชาติปี พ.ศ. 2529 สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีอีสานพื้นบ้าน-โปงลาง) นักดนตรีพื้นบ้านอีสานที่มีความสามารถพิเศษสามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่น ดนตรีพื้นบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ โปงลางและอื่นๆ โดยเฉพาะ "โปงลาง" นั้น สามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่นได้เป็นพิเศษ และที่สำคัญที่สุดคือ เป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุงและพัฒนาโปงลางมาตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทำให้ "เกราะลอ" ซึ่งเป็นเพียงสิ่งที่ใช้ตีไล่นก กา ตามไร่ ตามนา พัฒนามาเป็น "โปงลาง" ที่มีสภาพเป็นเครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ กังวาน และให้ความรู้สึกของความเป็นพื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริงเป็นที่นิยมกันแพร่ หลายและยอมรับกันว่า "โปงลาง" เป็น เครื่องดนตรีเอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กับ "แคน" ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว จึงสมควรยกย่องและเชิดชู นายเปลื้อง ฉายรัศมี ไว้ในฐานะเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) อย่างแท้จริง ดังนั้นคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้ประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง นายเปลื้อง ฉายรัศมี ให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) ประจำปี พุทธศักราช ๒๕๒๙ และได้รับพระราชทานโล่ เข็มเชิดชูเกียรติในวันเสาร์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๐ ซึ่งเป็นวันศิลปินแห่งชาติ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรล.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และเปลื้อง ฉายรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จังหวัดกาฬสินธุ์และ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กาฬสินธุ์สาธิต ทองจันทร์บุญมี นามวัยจ.กาฬสินธุ์ธีรวัฒน์ สุไชยะ(มาย)ณัฐพร ดำพลงามนกแก้ว กาฬสินธุ์น่านฟ้า กาฬสินธุ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »