โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดของประเทศเวียดนาม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดของประเทศเวียดนาม

จังหวัดกว๋างหงาย vs. จังหวัดของประเทศเวียดนาม

กว๋างหงาย (Quảng Ngãi) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางใต้ (ริมทะเลจีนใต้) ของเวียดนาม อยู่ห่างจากฮานอย และห่างจากนครโฮจิมินห์ เส้นทางการขนส่งที่สำคัญ ได้แก่ ทางรถไฟสายเหนือ-ใต้ สถานีรถไฟที่สำคัญคือ สถานีรถไฟกว๋างหงาย และทางหลวงแห่งชาติหมายเลข 1 เอ ซึ่งเริ่มต้นที่จังหวัดนี้Vietnam Road Atlas (Tập Bản đồ Giao thông Đường bộ Việt Nam). x250px ประเทศเวียดนาม แบ่งเขตการปกครองระดับบนสุดออกเป็น 58 จังหวัด (tỉnh) และ 5 เทศบาลนคร ซึ่งเทศบาลนครอยู่ในระดับเดียวกับจังหวัด (thành phố trực thuộc trung ương) จังหวัดต่าง ๆ จะแบ่งออกเป็นอำเภอ (huyện) นครประจำจังหวัด (thành phố trực thuộc tỉnh) และเมืองระดับอำเภอ (thị xã) ซึ่งจะแบ่งออกเป็นเมืองระดับตำบล (thị trấn) หรือตำบล (xã) ส่วนเทศบาลนครจะแบ่งออกเป็นเขต (quận) และอำเภอ โดยแต่ละเขตจะแบ่งออกเป็นแขวง (phường) แต่ละอำเภอจะแบ่งออกเป็นเมืองระดับตำบลหรือตำบล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดของประเทศเวียดนาม

จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดของประเทศเวียดนาม มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชายฝั่งตอนกลางใต้กอนตูมฮานอยจังหวัดบิ่ญดิ่ญจังหวัดกว๋างนามจังหวัดกอนตูมจังหวัดซาลายที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม)ประเทศเวียดนามนครโฮจิมินห์

ชายฝั่งตอนกลางใต้

ฝั่งตอนกลางใต้ ชายฝั่งตอนกลางใต้ (Nam Trung Bộ; South Central Coast) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วยนครดานังซึ่งเป็นเทศบาลอิสระและอีก 7 จังหวัด ส่วน 2 จังหวัดทางภาคใต้คือจังหวัดบิ่ญถ่วนและจังหวัดนิญถ่วนบางครั้งจะได้รับการจัดเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะในทะเลจีนใต้คือ หมู่เกาะแพราเซล (อำเภอฮหว่างซา) และ หมู่เกาะสแปรตลี (อำเภอเจื่องซา) เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคนี้.

จังหวัดกว๋างหงายและชายฝั่งตอนกลางใต้ · จังหวัดของประเทศเวียดนามและชายฝั่งตอนกลางใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กอนตูม

กอนตูม (Kon Tum) เป็นนครประจำจังหวัดและเมืองหลักของจังหวัดกอนตูมในภูมิภาคที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ใกล้กับชายแดนประเทศลาวและกัมพูชา หมวดหมู่:เมืองในประเทศเวียดนาม.

กอนตูมและจังหวัดกว๋างหงาย · กอนตูมและจังหวัดของประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2519 และก่อนหน้านั้นเคยเป็นเมืองหลวงของพื้นที่เวียดนามในปัจจุบันเป็นครั้งคราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึง..

จังหวัดกว๋างหงายและฮานอย · จังหวัดของประเทศเวียดนามและฮานอย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบิ่ญดิ่ญ

ญดิ่ญ (Bình Định) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางใต้ของประเทศเวียดนาม การขนส่งภายในจังหวัดที่สำคัญ ได้แก่ ทางถนน มีผู้โดยสาร 22.77 ล้านคน และสินค้า 7,928 ตัน ที่เดินทางภายในจังหวัด (ข้อมูลปี ค.ศ. 2009)Bình Định Statistics Office (2010): Bình Định Statistical Yearbook 2009.

จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดบิ่ญดิ่ญ · จังหวัดของประเทศเวียดนามและจังหวัดบิ่ญดิ่ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกว๋างนาม

กว๋างนาม (Quảng Nam) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเวียดนาม เป็นที่ราบตามแนวชายฝั่ง ทางตะวันตกติดกับประเทศลาว ในจังหวัดกว๋างนามนี้มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญชื่อเมืองฮอยอันซึ่งได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมเมื่อ พ.ศ. 2542.

จังหวัดกว๋างนามและจังหวัดกว๋างหงาย · จังหวัดกว๋างนามและจังหวัดของประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกอนตูม

กอนตูม (Kon Tum) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดกับจังหวัดกว๋างนามทางทิศเหนือ จังหวัดกว๋างหงายทางทิศตะวันออก และจังหวัดซาลายทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกติดกับจังหวัดรัตนคีรีของประเทศกัมพูชา แขวงอัตตะปือและแขวงเซกองของประเทศลาว เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองกอนตูม จังหวัดกอนตูมมีเนื้อที่ 9,614.5 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 432,900 คน เศรษฐกิจขึ้นอยู่กับเกษตรกรรมเป็นหลัก.

จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดกอนตูม · จังหวัดกอนตูมและจังหวัดของประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซาลาย

ซาลาย (Gia Lai) เป็นจังหวัดในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีขนาดพื้นที่มากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ การแบ่งเขตการปกครองประกอบไปด้วยอำเภอ 14 อำเภอ, เมืองระดับอำเภอ 2 เมือง และนครประจำจังหวัด 1 นคร คือ เปล็ยกู ซาลาย หมวดหมู่:ที่สูงตอนกลางของเวียดนาม.

จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดซาลาย · จังหวัดของประเทศเวียดนามและจังหวัดซาลาย · ดูเพิ่มเติม »

ที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม)

ที่ตั้งที่สูงตอนกลางในประเทศเวียดนาม ที่สูงตอนกลาง (Tây Nguyên; Central Highlands) เป็นหนึ่งในภูมิภาคของประเทศเวียดนาม ประกอบด้วยจังหวัดดั๊กลัก, จังหวัดดั๊กนง, จังหวัดซาลาย, จังหวัดกอนตูม และจังหวัดเลิมด่ง ภูมิภาคนี้บางครั้งเรียกว่า "ที่สูงในพื้นที่ตอนกลาง" (Cao nguyên Trung bộ) และเคยมีชื่อเรียกว่า "ที่สูงตอนกลาง" (Cao nguyên Trung phần) ในสมัยสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้).

จังหวัดกว๋างหงายและที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม) · จังหวัดของประเทศเวียดนามและที่สูงตอนกลาง (เวียดนาม) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

จังหวัดกว๋างหงายและประเทศเวียดนาม · จังหวัดของประเทศเวียดนามและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

จังหวัดกว๋างหงายและนครโฮจิมินห์ · จังหวัดของประเทศเวียดนามและนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดของประเทศเวียดนาม

จังหวัดกว๋างหงาย มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ จังหวัดของประเทศเวียดนาม มี 112 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 7.69% = 10 / (18 + 112)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดกว๋างหงายและจังหวัดของประเทศเวียดนาม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »