โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักระและพระศักติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จักระและพระศักติ

จักระ vs. พระศักติ

ักระ (Chakra, Cakra, Cakka) เป็นศูนย์รวมกายทิพย์ (subtle body) ที่เชื่อว่ามีพลังทางจิตในประเพณีลึกลับของศาสนาแบบอินเดีย, Encyclopaedia Britannica ความคิดมักพบในประเพณีแบบตันตระของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน จักระถูกมองว่าเป็นจุดรวมพลังงาน การทำงานของร่างกาย หรือจุดต่อทางจิตของกายทิพย์ ทฤษฎีจักระเป็นส่วนหนึ่งของระบบกุณฑลินี (Kundalini) ทฤษฎีเหล่านี้ต่างกันไปตามแต่ละศาสนา เอกสารของศาสนาพุทธกล่าวถึงจักระทั้ง 4 ส่วนศาสนาฮินดูกล่าวถึงจักระทั้ง 7 โดยเชื่อว่าจักระเป็นส่วนหนึ่งของกายทิพย์ ไม่ใช่ร่างกาย และเชื่อมต่อโดยช่องทางพลังงานเรียกว่านาดิ (Nadi) ส่วนนึงในโยคะแบบกุณฑลินีมีการฝึกรวบรวมพลังงานผ่านจักร. รูปบูชาพระแม่อทิศักติอันงดงาม พระแม่ศักติหรือ พระแม่อทิศักติหรือ พระแม่อทิ ปราศักติ (สันสกฤษ: शक्ति, आदि शक्ति, आदि पराशक्ति อังกฤษ: Shakti, Adi Shakti, Adi Parashakti) เป็นมหาเทวีองค์สูงสุดในลัทธิศักติของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระองค์ยังเป็นที่นิยมเรียกว่า ปรามะ ศักติ, มหาศักติ, มหาเทวี, ปารวตี หรือแม้แต่ศักติ ปรามะ หมายถึง ความแน่นอน สัตยา หมายถึง ความจริง ตามคัมภีร์ เทวี ภควตา มหาปุราณะ กล่าวไว้ว่า พระแม่ศักติเป็นผู้พิทักษ์และทรงคุ้มครองจักรวาลทั้งปวง พระองค์ทรงกำเนิดมาจากความซ่อนเร้นของจักรวาล และทรงสร้างจักรวาลขึ้นมา และทรงสร้างเทพทั้ง3ได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ หรือที่เรียกว่า ตรีมูรติ หรือ ทัตตะเตรยะ และทรงสร้างเทวีทั้ง3ได้แก่ พระแม่สุรัสวดี พระแม่ลักษมี และพระแม่อุมา หรือที่เรียกว่า ตรีศักติ หรือ ตรีเทวี ในอินเดียภาคใต้นิยมบูชาพระองค์ในรูปของพระแม่ลลิตาหรือพระแม่ตรีปุระสุนทรี ซึ่งพระแม่ตรีปุระสุนทรีทรงเป็นร่างปฐมของพระแม่อทิศักติและยังอวตารลงมาเป็นพระสตีกับพระแม่ปารวตีอีกด้วย แต่ร่างที่แท้จริง คือ พระแม่อทิศักติ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จักระและพระศักติ

จักระและพระศักติ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จักระและพระศักติ

จักระ มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระศักติ มี 0 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (21 + 0)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จักระและพระศักติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »