โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และรายพระนามจักรพรรดิจีน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และรายพระนามจักรพรรดิจีน

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) vs. รายพระนามจักรพรรดิจีน

ักรวรรดิจีน (Empire of China) เป็นการปกครองซึ่งดำรงอยู่ในช่วงสั้น ๆ ในประเทศจีนตั้งแต่ปล.. รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และรายพระนามจักรพรรดิจีน

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และรายพระนามจักรพรรดิจีน มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าเหยากลุ่มภาษาจีนยฺเหวียน ชื่อไข่ราชวงศ์ชิงจักรพรรดิผู่อี๋

พระเจ้าเหยา

ระเจ้าเหยา พระเจ้าเหยา, (ตามตำนาน 2356-2255 ก่อนคริสตกาล) คือ ผู้ปกครองจีนตามตำนาน ในยุคสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิ ชื่ออื่นที่เรียกกันได้แก่ เถาถัง ซื่อ (陶唐氏) หรือ ถัง เหยา (唐堯) เมื่อแรกเกิดมีนามว่า อี ฟ่างซวิน (伊放勳) หรือ อี ฉี (伊祁) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของจักรพรรดิคู่ พระเจ้าเหยามักได้รับยกย่องว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่สมบูรณ์แบบและมีคุณธรรมอย่างสูง เป็นผู้เฉลียวฉลาดและเป็นแบบอย่างแก่จักรพรรดิราชวงศ์ต่าง ๆ ของจีนในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนในยุคต้นมักเอ่ยถึงพระเจ้าเหยา พระเจ้าซุ่น และพระเจ้าอวี่ ว่าเป็นบุคคลสำคัญ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเชื่อว่าทั้งสามอาจเป็นหัวหน้าเผ่าที่ก่อตั้งระบบการปกครองที่เป็นหนึ่งเดียวและมีระบบลำดับชั้นในช่วงยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมศักดินา ตามตำนานเล่าว่า เหยาขึ้นเป็นผู้ปกครองเมื่ออายุ 20 ปี และสวรรคตเมื่ออายุ 119 ปี และมอบบัลลังก์ให้กับซุ่น ซึ่งสมรสกับพระราชธิดาของพระองค์ทั้ง 2 คน.

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และพระเจ้าเหยา · พระเจ้าเหยาและรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

กลุ่มภาษาจีนและจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) · กลุ่มภาษาจีนและรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

ยฺเหวียน ชื่อไข่

ยฺเหวียน ชื่อไข่ (16 กันยายน พ.ศ. 2402 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2459) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ โดยได้อาศัยความได้เปรียบจากการคุมกองทัพเป่ยหยาง ซึ่งเป็นปัจจัยทั้งการอยู่รอดของราชวงศ์ชิงและการก่อตั้งสาธารณรัฐ ถ้ายฺเหวียนเลือกข้างฝ่ายไหน ฝ่ายนั้นก็ได้รับชัยชนะไป กองทัพของซุนยัคเซนเองก็ใช่ว่าจะสามารถต่อต้านทัพเป่ยหยางที่มีอาวุธที่ทันสมัยกว่าได้ หลังจากได้เข้าเจรจาทั้งฝ่ายปฏิวัติและฝ่ายต้าชิงแล้ว ยฺเหวียนได้บีบให้หลงหยู่ไทเฮาประกาศให้ฮ่องเต้ปูยีสละราชสมบัติ ซุน ยัตเซนจึงลาออกจากประธานาธิบดีชั่วคราว และยกตำแหน่งนี้ให้ยฺเหวียนดำรงตำแหน่ง ภายหลังยฺเหวียนสถาปนาตนเองเป็น "จักรพรรดิหงเซียน" ปกครองจักรวรรดิจีนแต่ไม่ได้รับการยอมรับ จึงล้มเลิกจักรวรรดิและกลับมาปกครองแบบสาธารณรัฐเช่นเดิม หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน ซ.

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และยฺเหวียน ชื่อไข่ · ยฺเหวียน ชื่อไข่และรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และราชวงศ์ชิง · ราชวงศ์ชิงและรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

จักรพรรดิผู่อี๋และจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) · จักรพรรดิผู่อี๋และรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และรายพระนามจักรพรรดิจีน

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามจักรพรรดิจีน มี 246 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 1.88% = 5 / (20 + 246)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)และรายพระนามจักรพรรดิจีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »