โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ) vs. สถาบันสถาปนา

นิยายชุดจักรวรรดิ เป็นการรวมเอานิยาย 3 เล่มที่มีเนื้อหาไม่เกี่ยวข้องกัน แต่อยู่ในจักรวาลเดียวกันของไอแซค อสิมอฟ มารวมกันเป็นชุด โดยชุดจักรวรรดินี้มีระยะเวลาตามท้องเรื่องอยู่หลังจากชุดนักสืบหุ่นยนต์ และอยู่ก่อนชุดสถาบันสถาปนา ทั้งสามเรื่องใช้ฉากหลังเป็นจักรวรรดิสากลจักรวาล ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองในโลกอนาคตในจินตนาการของอสิมอฟ สิ่งคล้ายๆ กันที่ปรากฏคือ ระบบไฮเปอร์ไดรว์, ปืนแสง, แส้กดประสาท จุดเชื่อมเรื่องอีกอย่างหนึ่งคือในหนังสือ สถาบันสถาปนาและโลก อสิมอฟได้เปิดเผยว่าโลกในจักรวาลนั้นพบกับปัญหากัมมันตภาพรังสี ซึ่งเคยเอ่ยถึงในดาวดั่งธุลีและ Pebble in the Sky นิยายในชุดมี 3 เล่ม คือ. นิยาย สถาบันสถาปนา (Foundation) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ขนาดยาว ประพันธ์โดยไอแซค อสิมอฟ เนื้อหาของชุดนิยายเป็นเรื่องในช่วงเวลาที่มนุษยชาติได้กระจายอาศัยอยู่ทั่วไปในจักรวาล เนื้อเรื่องบอกเล่าถึงการล่มสลายของจักรวรรดิ และความพยายามของนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่ง ที่ต้องการจะช่วยให้มนุษยชาติ กลับจากภาวะล่มสลายให้ได้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยการรวมรวบความรู้ต่าง ๆ เก็บไว้ในสานานุกรม ซึ่งจัดทำโดยสถาบันสถาปน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สถาบันสถาปนาและโลกนักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ)ไอแซค อสิมอฟ

สถาบันสถาปนาและโลก

ปก ''สถาบันสถาปนาและโลก'' ของสำนักพิมพ์โปรวิชั่น สถาบันสถาปนาและโลก (Foundation and Earth) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์เล่มที่ห้าของหนังสือชุดสถาบันสถาปนา ฉบับภาษาอังกฤษตีพิมพ์ครั้งแรก ค.ศ. 1986 นับเป็นหนังสือเล่มสุดท้ายในชุดถ้านับตามลำดับเหตุการณ์ในเรื่อง.

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนาและโลก · สถาบันสถาปนาและสถาบันสถาปนาและโลก · ดูเพิ่มเติม »

นักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ)

นครโลหะ: The Cave of Steel นครสุริยะ: The Naked Sun นครอรุณรุ่ง: The Robot of Dawn นครหุ่นยนต์: Robot and Empire นักสืบหุ่นยนต์ เป็นชุดนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบด้วย นวนิยาย 4 เล่ม กับเรื่องสั้นอีกหนึ่งเรื่อง ประพันธ์โดย ไอแซค อสิมอฟ นับเป็นรหัสคดีแนววิทยาศาสตร์ชุดแรก ที่มีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับหุ่นยนต์ โดย อสิมอฟ ได้วางเรื่องชุดนี้ให้อยู่ในช่วงที่มนุษย์ระลอกแรกได้ก่อตั้งรกรากในอวกาศ โดยมีลักษณะสังคมที่แตกต่างและการเมืองที่ซับซ้อนระหว่างโลกที่เป็นภพกำเนิดที่เป็นสังคมซึ่งปฏิเสธการอยู่ร่วมกับหุ่นยนต์ (ชาวโลก) และภพรอบนอก ซึ่งมนุษย์มีหุ่นยนต์จำนวนมากคอยรับใช้และบริการ (ชาวอวกาศ) เรื่องชุดนี้นับเป็นเรื่องราวที่ต่อเนื่องจากชุด "ข้าคือหุ่นยนต์" และเป็นเรื่องราวก่อนชุดจักรวรรดิ และชุดสถาบันสถาปนา ในบางตอนยังกล่าวถึงตัวละครในชุดข้าคือหุ่นยนต์ และตัวละครในชุดนี้ก็ยังปรากฏอยู่ในบางตอนของชุดสถาบันสถาปนา ด้ว.

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และนักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ) · นักสืบหุ่นยนต์ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา · ดูเพิ่มเติม »

ไอแซค อสิมอฟ

ร.ไอแซค อาซิมอฟ (Isaac Asimov; Айзек Азимов Ayzek Azimov; IPA:; 2 มกราคม พ.ศ. 2463-6 เมษายน พ.ศ. 2535) นักเขียนและนักชีวเคมีชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซียที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง มีชื่อเสียงรู้จักกันดีในฐานะนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ และหนังสือแนววิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือ หนังสือชุดสถาบันสถาปนา รวมทั้งหนังสืออีก 2 ชุด นั่นคือ หนังสือชุดจักรวรรดิเอ็มไพร์ และ หนังสือชุดหุ่นยนต์ นอกจากนี้เขายังได้เขียนนิยายแนวลึกลับและแฟนตาซี รวมทั้งสารคดีอีกจำนวนมาก เขาได้เขียนหนังสือในหมวดใหญ่ๆ ของระบบทศนิยมดิวอี้ทุกแนวเนื้อหา เว้นก็แต่แนวปรัชญาเท่านั้น อาซิมอฟถือเป็นนักเขียนรุ่นใหญ่ในบรรดานักเขียนนวนิยายวิทยาศาสตร์ โดยจัดอยู่ในแนวหน้า เช่นเดียวกับ โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ และอาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ซึ่งถือเป็นผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสาม (Big Three) ในหมู่นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ในช่วงชีวิตของ.

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และไอแซค อสิมอฟ · สถาบันสถาปนาและไอแซค อสิมอฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา

จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ) มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถาบันสถาปนา มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 12.50% = 3 / (8 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จักรวรรดิ (ชุดหนังสือ)และสถาบันสถาปนา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »