โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพันธุ์ ยมจินดาและเอกชัย นพจินดา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จักรพันธุ์ ยมจินดาและเอกชัย นพจินดา

จักรพันธุ์ ยมจินดา vs. เอกชัย นพจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน). อกชัย นพจินดา (ชื่อเล่น: แจ๊คกี้; นามปากกา: ย.โย่ง) อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาที่มีชื่อเสียง, อดีตผู้ประกาศข่าวกีฬาทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, อดีตบรรณาธิการและคอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์สยามกีฬารายวัน, สตาร์ซอคเก้อร์รายวัน และนิตยสารสตาร์ซอคเก้อร์รายสัปดาห.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จักรพันธุ์ ยมจินดาและเอกชัย นพจินดา

จักรพันธุ์ ยมจินดาและเอกชัย นพจินดา มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2555พิศณุ นิลกลัดรายการโทรทัศน์สื่อมวลชนสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7หนังสือพิมพ์ผู้ประกาศข่าวนามสกุลนิตยสาร

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

จักรพันธุ์ ยมจินดาและพ.ศ. 2555 · พ.ศ. 2555และเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

พิศณุ นิลกลัด

ณุ นิลกลัด (ชื่อเดิม: พิษณุ ชื่อเล่น: ณุ นามปากกา: เตยหอม) พิธีกรประจำรายการ ข่าวนอกลู่ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, อดีตพิธีกรรายการโทรทัศน์ สะเก็ดข่าว และ คอข่าว, อดีพิธีกรรายการฟ้ามีตา, อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬา ทางช่อง 7 สี และทรูวิชันส์, คอลัมนิสต์ที่มีชื่อเสียงในเครือสยามสปอร์ตซินดิเคท ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 พิศณุย้ายออกจากช่อง 7 สี ไปยังไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเข้าเป็นพิธีกร ประจำรายการข่าวนอกลู.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและพิศณุ นิลกลัด · พิศณุ นิลกลัดและเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

รายการโทรทัศน์

รายการทอล์กโชว์ The Oprah Winfrey Show โดย โอปราห์ วินฟรีย์ รายการโทรทัศน์ เป็นส่วนต่าง ๆ ของการออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ การออกอากาศรายการโทรทัศน์ มีขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1936 ในกรุงลอนดอน รายการโทรทัศน์ อาจออกอากาศเพียงแค่ครั้งเดียว หรือมีตอนต่อ ที่เรียกว่า ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ (TV series) ส่วนมากมักเป็นรายการประเภทละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์มักแบ่งเป็นภาค ๆ โดยในหนึ่งภาค ในสหรัฐอเมริกาจะเรียกว่า ฤดูกาล (season) แต่ในสหราชอาณาจักรจะเรียกว่า ชุด (series) แต่ละฤดูกาลหรือชุดจะมีความยาวประมาณ 6-26 ตอน รายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศเป็นพิเศษเพียงครั้งเดียว จะเรียกว่า รายการพิเศษ (special program) และสถานีวิทยุโทรทัศน์บางสถานี ยังมี ภาพยนตร์โทรทัศน์ (TV movies) ที่สร้างขึ้นเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์โดยเฉพาะ ไม่ได้ออกฉายทางโรงภาพยนตร์ หรือบันทึกลงในวิดีโอ วีซีดี ดีวีดี หรือสื่ออื่น ๆ ทุกวันนี้ การออกอากาศ ภาพยนตร์โฆษณา (commercial advertisement) ถือเป็นส่วนสำคัญของรายการโทรทัศน์ โดยมีข้อปฏิบัติเป็นเกณฑ์ว่า ในการออกอากาศรายการโทรทัศน์ 1 ชั่วโมง จะมีภาพยนตร์โฆษณาได้ไม่เกิน 15 นาที เหมือนในโรงภาพยนตร.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและรายการโทรทัศน์ · รายการโทรทัศน์และเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สื่อมวลชน

ื่อมวลชน (mass media) เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งหรือจากองค์กรหนึ่ง ไปยังมวลชนจำนวนมากโดยเฉพาะประชาชนทั้งประเทศ ในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตฯลฯ การเผยแพร่ในสื่อมวลชนส่วนหนึ่งต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลา ซื้อพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถใช้สื่อมวลชนแบบให้เปล่าได้ หากองค์กรนั้นมีเรื่องราวที่น่าสนใจแก่การเผยแพร่ หรือบังคับโดยข้อกฎหม.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและสื่อมวลชน · สื่อมวลชนและเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

จักรพันธุ์ ยมจินดาและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7และเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือพิมพ์

ร้านจำหน่ายหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ในเมืองแพดดิงตัน กรุงลอนดอน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 หนังสือพิมพ์ คือสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าว การเคลื่อนไหวใหม่ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มีกำหนดการออกที่แน่นอนตายตัว โดยส่วนใหญ่จะออกเป็นรายวัน นอกจากนี้แล้วยังมีหนังสือพิมพ์รายสามวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ และรายเดือน หนังสือพิมพ์มักจะพิมพ์ลงในกระดาษสำหรับพิมพ์หนังสือพิมพ์โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาถูก เนื้อหาหลักของหนังสือพิมพ์คือข่าวสารบ้านเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านต่างๆ อาทิ ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวกีฬา และข่าวบันเทิง มีการใช้รูปภาพประกอบเนื้อหา ทำให้เนื้อหาชัดเจนมากขึ้น นอกจากนี้แล้วอาจมีส่วนต่างๆ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ เช่น พยากรณ์อากาศ และ การ์ตูน ซึ่งโดยทั่วไปเป็นการ์ตูนล้อเลียนการเมือง.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและหนังสือพิมพ์ · หนังสือพิมพ์และเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ประกาศข่าว

ผู้ประกาศข่าว เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ประกาศข่าวสารต่าง ๆ สู่ประชาชนผู้รับสาร ผ่านสื่อมวลชนประเภทต่างๆ คือ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอาจหมายถึงผู้ดำเนินรายการประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน ด้วย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและผู้ประกาศข่าว · ผู้ประกาศข่าวและเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุล

ื่อสกุล หรือ นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล (หรือสกุล) เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้น ว่ามาจากครอบครัวไหน ตระกูลใด ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ทั่วไปในหลาย ๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละที่ก็อาจจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป ในหลาย ๆ วัฒนธรรม (เช่น ทางตะวันตก ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟริกา) นามสกุลจะอยู่ในลำดับหลังสุดของชื่อบุคคล แต่ในบางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม) นามสกุลจะอยู่ในลำดับแรก ส่วนนามสกุลของไทยจะอยู่เป็นลำดับสุดท้ายเหมือนทางตะวันตก ในบางวัฒนธรรม จะใช้นามสกุลในการเรียกขานในโอกาสที่เป็นทางการ เช่น บารัก โอบามา (Barack Obama) จะถูกเรียกว่า คุณโอบามา (Mr. Obama) ไม่ใช่ คุณบารัก เป็นต้น.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและนามสกุล · นามสกุลและเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

นิตยสาร

นิตยสาร (magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไป ผู้อ่านสามารถบอกรับเป็นสมาชิกได้ คำว่า "นิตยสาร" มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่า "นิตยสาร" โดยทั่วไปอาจมีความหมายคาบเกี่ยวกับคำว่า วารสาร ซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอนเช่นกัน แต่ในทางบรรณารักษศาสตร์ ปัจจุบัน เมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มีนิตยสารในอินเทอร์เน็ต ซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยังเรียกกันว่า "นิตยสาร" เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น "อนุสาร อ..ท." ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิด มีความก่ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่ม มีทั้งข่าว วิเคราะห์ข่าว และบันเทิง ในสัดส่วนที่พอๆ กัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่อง ไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อ "นิตยสารสุภาพบุรุษ" (The Gentleman's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ. 2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ "นิตยสารสกอต" (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์เมื่อปี พ.ศ. 2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์อยู่จนถึงในปัจจุบัน.

จักรพันธุ์ ยมจินดาและนิตยสาร · นิตยสารและเอกชัย นพจินดา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จักรพันธุ์ ยมจินดาและเอกชัย นพจินดา

จักรพันธุ์ ยมจินดา มี 94 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอกชัย นพจินดา มี 52 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 6.16% = 9 / (94 + 52)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จักรพันธุ์ ยมจินดาและเอกชัย นพจินดา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »