เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จักรพรรดิไทโชและราชวงศ์ญี่ปุ่น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จักรพรรดิไทโชและราชวงศ์ญี่ปุ่น

จักรพรรดิไทโช vs. ราชวงศ์ญี่ปุ่น

มเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัยคือ จักรพรรดิไทโช (31 สิงหาคม พ.ศ. 2422 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2469) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 123 ทรงปกครองจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น และพระประมุขแห่งเกาหลี เป็นเวลา 14 ปี. ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1203 ตามตำนาน) โดยเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศนานที่สุดในโลกถึง 1,348 ปี และเป็นราชวงศ์ที่มีการสืบสันติวงศ์มากที่สุดในโลก จนถึงปัจจุบันรวมได้ถึง 125 รัชกาลแล้ว แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนมากอ้างว่าจักรพรรดิ 14 พระองค์แรกเป็นจักรพรรดิในตำนาน อนึ่งเนื่องจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นนั้นเริ่มทีหลังจากการมีจักรพรรดิ 14 พระองค์แรก จึงเป็นเรื่องถกเถียงกันว่า หากยังไม่ได้มีการรวมชาติใด ๆ จะมีจักรพรรดิได้เช่นไร สัญลักษณ์ประจำราชวงศ์คือ คิกุ (เรียกเต็มว่า คิกกะมนโช แปลว่า ลัญจกรดอกเบญจมาศ ราชวงศ์ญี่ปุ่นเป็นราชวงศ์แห่งเดียวในโลกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่ถึงแม้จะพ่ายแพ้ในสงคราม แต่พระราชวงศ์ก็มิได้ถูกล้มล้าง แม้สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะจะเป็นผู้ให้การต่อต้านการทำสงครามแต่ก็เป็นผู้คุมอำนาจสำคัญของการทำศึกต่อต้านฝ่ายสัมพันธมิตร ที่ยินยอมให้สหรัฐอเมริกาเข้าควบคุมญี่ปุ่นแทนการถูกนำตัวไปขึ้นศาลโลกในฐานะอาชญากรสงครามและล้มล้างพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเรียก "จักรพรรดิ" ว่า เท็นโน หมายถึง เทพเจ้าที่มาจากสวรรค์ ซึ่งเป็นคำจำกัดความของ "กษัตริย์ญี่ปุ่น" ราชวงศ์ญี่ปุ่นเคยได้รับการเคารพในฐานะอวตารเทพ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1946 สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะมีพระโองการว่า ทรงเป็นคนธรรมดา และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จักรพรรดิไทโชและราชวงศ์ญี่ปุ่น

จักรพรรดิไทโชและราชวงศ์ญี่ปุ่น มี 23 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิมาซาโกะ เซ็งยาซูโกะ โคโนเอะสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะอะสึโกะ อิเกะดะจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดินีเทเมจักรพรรดิโชวะทากาโกะ ชิมาซุคาซูโกะ ทากาสึกาซะตระกูลฟูจิวาระเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ

ชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิ

งะโกะ ฮิงะชิกุนิ (6 ธันวาคม พ.ศ. 2468 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมคือ เจ้าหญิงชิเงะโกะ เจ้าเทะรุ และภายหลังเสกสมรสกับ เจ้าชายโมะริฮิโระแห่งฮิงะชิกุนิ ทรงพระนามว่า เจ้าหญิงชิเงะโกะ พระชายาโมะริฮิโระแห่งฮิงะชิกุนิ พระองค์ทรงเป็นพระราชธิดาพระองค์โตใน สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง อีกทั้งยังเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะแห่งญี่ปุ่น.

จักรพรรดิไทโชและชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิ · ชิเงโกะ ฮิงาชิกูนิและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มาซาโกะ เซ็ง

มะซะโกะ เซ็ง หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงมะซะโกะแห่งมิกะซะ เป็นอดีตสมาชิกของราชวงศ์ญี่ปุ่น มะซะโกะเป็นพระธิดาในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ กับ เจ้าหญิงยุริโกะ พระวรชายามิกะซะ มะซะโกะ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับ ทะซะยุกิ เซ็ง มีบุตรชาย 2 คนและธิดา 1 คนคือ อะกิฟุมิ เซ็ง ทะกะฟุมิ เซ็ง และมะกิโกะ เซ็ง.

จักรพรรดิไทโชและมาซาโกะ เซ็ง · มาซาโกะ เซ็งและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ยาซูโกะ โคโนเอะ

ซุโกะ โคะโนะเอะ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2487) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงยะซุโกะแห่งมิกะซะ เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะ กับเจ้าหญิงยุริโกะ พระชายาฯ ภายหลังได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์เพื่อเสกสมรสกับทะดะเตะรุ โคะโนะเอ.

จักรพรรดิไทโชและยาซูโกะ โคโนเอะ · ยาซูโกะ โคโนเอะและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

จักรพรรดิไทโชและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

อะสึโกะ อิเกะดะ

อะสึโกะ อิเกะดะ (ประสูติ 7 มีนาคม พ.ศ. 2474) หรือ อดีตเจ้าหญิงโยริ เป็นภริยาของทะกมะซะ อิเกะดะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง ทั้งยังเป็นหนึ่งในพระภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะที่ยังมีพระชนม์ชี.

จักรพรรดิไทโชและอะสึโกะ อิเกะดะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและอะสึโกะ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

จักรพรรดิญี่ปุ่นและจักรพรรดิไทโช · จักรพรรดิญี่ปุ่นและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

จักรพรรดินีโคจุงและจักรพรรดิไทโช · จักรพรรดินีโคจุงและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเทเม

ักรพรรดินีเทเม (25 มิถุนายน พ.ศ. 2427 – 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) พระนามเดิม ซะดะโกะ คุโจ เป็นจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิไทโช และเป็นพระราชมารดาในจักรพรรดิโชวะ โดยจักรพรรดินีเทเมเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นองค์สุดท้ายที่มาจากตระกูลฟุจิวะระ (สายตระกูลคุโจ).

จักรพรรดินีเทเมและจักรพรรดิไทโช · จักรพรรดินีเทเมและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

จักรพรรดิโชวะและจักรพรรดิไทโช · จักรพรรดิโชวะและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ทากาโกะ ชิมาซุ

ทะกะโกะ ชิมะซุ (ประสูติ: 2 มีนาคม พ.ศ. 2482) หรือพระนามเดิม เจ้าหญิงทะกะโกะ เจ้าซุงะ เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ พระองค์ได้ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับฮิซะนะงะ ชิมะซ.

จักรพรรดิไทโชและทากาโกะ ชิมาซุ · ทากาโกะ ชิมาซุและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คาซูโกะ ทากาสึกาซะ

ซุโกะ ทะกะสึกะซะ (30 กันยายน พ.ศ. 2472 - 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2532) เป็นภริยาของโทะชิมิชิ ทะคะสึคะซะ และเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน โดยคาซุโกะถือเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

คาซูโกะ ทากาสึกาซะและจักรพรรดิไทโช · คาซูโกะ ทากาสึกาซะและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

จักรพรรดิไทโชและตระกูลฟูจิวาระ · ตระกูลฟูจิวาระและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ

้าชายมะซะฮิโตะ เจ้าฮิตะชิ (ประสูติ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478) หรืออดีต เจ้าโยะชิ เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระอนุชาใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เจ้าชายฮิทาชิ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองใน สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุน เจ้าชายฮิทาชิเป็นทายาทในราชบัลลังก์อันดับที่ 4 และทรงเป็นที่รู้จักในเรื่องการกุศลและการค้นพบสาเหตุโรคมะเร็ง.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายมาซาฮิโตะ เจ้าฮิตาชิ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ (秩父宮 雍仁, Chichibu no miya Yasuhito Shinnō?, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2444 - 4 มกราคม พ.ศ. 2496) หรือ เจ้าชายยะสุฮิโตะ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้อุปถัมป์ ด้านกีฬา, การแพทย์ โดยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงสามารถตรัสภาษาอังกฤษได้ จึงได้ทรงดูแลความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์ได้ทรงเข้าประจำการในกองทัพญี่ปุ่น พระองค์นั้นก็เหมือนกับเจ้าชายพระองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ญี่ปุ่นที่ได้รับการอภัยโทษไม่ต้องเป็นอาชญากรสงคราม หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ

้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2458 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และ สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงคิกุโกะแห่งทะกะมะสึ เจ้ามิกะซะถือเป็นเชื้อพระวงศ์ที่พระชนมายุยืนยาวที่สุดในราชวงศ์ญี่ปุ่น.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ

้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ (ประสูติ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2557) เป็นสมาชิกในพระราชวงศ์แห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นโอรสองค์ที่สองในเจ้ามิกะซะกับเจ้าหญิงพระวรชายามิกะซะ พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ

ป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระโอรสของเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะกับเจ้าหญิงยุริโกะ เจ้าหญิงมิกะซะ เจ้าชายโทะโมะฮิโตะ ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ มีพระโอรส-พระธิดา 2 พระองค์ คือ เจ้าหญิงอะกิโกะแห่งมิกะซะและเจ้าหญิงโยโกะแห่งมิกะซะ พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 2012 เนื่องด้วยโรคมะเร็ง.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโทโมฮิโตะแห่งมิกาซะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ

้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ (3 มกราคม ค.ศ. 1905 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และสมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้สืบทอดตำแหน่ง ทะคะมัตสึ โนะ มิยะ (เดิมเรียกว่า "อะริสึงะวะ โนะ มิยะ") 1 ใน 4 พระอิสริยยศของสมาชิกพระราชวงศ์ที่มีสิทธิในราชบัลลังก์โดยตรง ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1920 พระองค์ได้ทรงเข้ารับราชการอยู่ในกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นตราบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยดำรงพระยศสูดสุดในระดับนายนาวาเอก หลังสิ้นสงคราม พระองค์ได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานกิตติมศักดิ์หรือผู้อุปถัมภ์ขององค์กรหลายแห่ง ซึ่งทำงานเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ ศิลปะ การกีฬา และการแพท.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ

้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2497 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามใน เจ้าชายทาคาฮิโตะ มิกะซะ เจ้าหญิงยูริโกะ มิกะซะ โดยขณะมีพระชนม์ชีพทรงอยู่ในลำดับที่ 7 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ญี่ปุ่น.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ

้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ (4 มิถุนายน พ.ศ. 2466) พระนามเดิม ยูริโกะ ทากางิ เป็นพระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ เจ้าชายมิกาซะ พระราชโอรสพระองค์เล็กในจักรพรรดิไทโช กับจักรพรรดินีเทเม พระองค์เป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและเป็นพระกุลเชษฐ์แห่งราชวงศ์เพียงพระองค์เดียวที่ประสูติในรัชกาลจักรพรรดิไทโชที่ยังทรงพระชนม.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงยูริโกะ พระชายาในเจ้าชายทากาฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ

้าหญิงคิกุโกะ พระชายาในเจ้าชายโนะบุฮิโตะ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) มีพระนามเดิมว่า คิกุโกะ โทะกุงะวะ เป็นพระชายาในเจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะสึ เป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระปิตุลานีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ

้าหญิงซะชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ (10 กันยายน พ.ศ. 2470 – 8 มีนาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิโชวะ กับจักรพรรดินีโคจุง และเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงซาชิโกะ เจ้าหญิงฮิซะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ

้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ (9 กันยายน พ.ศ. 2452 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2538) พระนามเดิม เซะสึโกะ มะสึไดระ เป็นพระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชายชิชิบุ พระราชโอรสในจักรพรรดิไทโชและจักรพรรดินีเทเม ทั้งนี้พระองค์เป็นพระประยูรญาติของเจ้านายหลายพระองค์ อาทิ เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ (ต่อมาคือจักรพรรดินีโคจุง) และเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ (ต่อมาคือเจ้าหญิงพังจา พระชายาในมกุฎราชกุมารอึยมิน) และยังเป็นหนึ่งในพระบรมวงศานุวงศ์ญี่ปุ่นที่พระราชวงศ์อังกฤษโปรดปราน โดยเฉพาะเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ออกพระโอษฐ์อยู่เสมอว่าเจ้าหญิงเซะสึโกะเป็น "พระอัยยิกาชาวญี่ปุ่น".

จักรพรรดิไทโชและเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ · ราชวงศ์ญี่ปุ่นและเจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จักรพรรดิไทโชและราชวงศ์ญี่ปุ่น

จักรพรรดิไทโช มี 47 ความสัมพันธ์ขณะที่ ราชวงศ์ญี่ปุ่น มี 56 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 23, ดัชนี Jaccard คือ 22.33% = 23 / (47 + 56)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จักรพรรดิไทโชและราชวงศ์ญี่ปุ่น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: