สารบัญ
28 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2176พ.ศ. 2186พ.ศ. 2197พระราชวังหลวงเคียวโตะยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศราชวงศ์ญี่ปุ่นศตวรรษที่ 14สึกิ โนะ วะ โนะ มิซะซะงิจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดินีเมโชจักรพรรดิโกะ-มิซุโนจักรพรรดิโกะ-โคเมียวจักรพรรดิโกะ-ไซจักรพรรดิโคเมียวจักรพรรดิเรเง็งนางาซากิโชกุนโรคฝีดาษโทกูงาวะ ฮิเดตาดะโตเกียวเคอังเคียวโตะ14 พฤศจิกายน2 ธันวาคม20 เมษายน23 พฤศจิกายน30 ตุลาคม
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2176
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2197
- บุคคลในยุคเอโดะ
พ.ศ. 2176
ทธศักราช 2176 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและพ.ศ. 2176
พ.ศ. 2186
ทธศักราช 2186 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและพ.ศ. 2186
พ.ศ. 2197
ทธศักราช 2197 ใกล้เคียงกั.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและพ.ศ. 2197
พระราชวังหลวงเคียวโตะ
ระที่นั่งเซเรียว (''เซเรียว-เด็ง'') ท้องพระโรงในพระที่นั่งชิชิน พระราชวังหลวงเคียวโตะ (Kyoto Imperial Palace) เป็นพระราชวังหลวงที่ตั้งอยู่ในนครเคียวโตะ เป็นที่ประทับในอดีตขององค์จักรพรรดิ ซึ่งจักรพรรดิทรงย้ายไปพำนักที่พระราชวังหลวงโตเกียวตั้งแต่ปี..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและพระราชวังหลวงเคียวโตะ
ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้
ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ (Northern and Southern Courts period) ยุคแห่งความวุ่นวายในการอ้างสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศโดยดำเนินไปใน ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ หรือตรงกับยุค รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ในช่วงปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและยุคราชสำนักเหนือ-ใต้
ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ
ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศหรือ '''ทะกะมิกุระ''' ในท้องพระโรง '''ชิชินเด็น''' ที่พระราชวังหลวงเคียวโตะ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ (Chrysanthemum Throne) ราชบัลลังก์ที่ใช้ประกอบ พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ท้องพระโรง ชิชินเด็น ในพระราชวังหลวงเคียวโตะ โดยจักรพรรดิพระองค์ล่าสุดที่ได้ประทับบนราชบัลลังก์นี้คือจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ในคราวพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ
ราชวงศ์ญี่ปุ่น
ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและราชวงศ์ญี่ปุ่น
ศตวรรษที่ 14
ตวรรษที่ 14 อาจหมายถึง.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและศตวรรษที่ 14
สึกิ โนะ วะ โนะ มิซะซะงิ
สึกิ โนะ วะ โนะ มิซะซะงิ (Tsuki no wa no misasagi) สุสานหลวงที่ฝังพระบรมศพของ จักรพรรดิญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่ใน วัดเซ็งเนียว ที่ย่าน ฮิงะชิยะมะ ใน นครเคียวโตะ โดยเป็นสุสานที่ฝังพระบรมศพของจักรพรรดิและจักรพรรดินีญี่ปุ่นนับตั้งแต่ ยุคคะมะกุระ - ยุคเอะโดะ ซึ่งจักรพรรดิและจักรพรรดินีองค์สุดท้ายที่ฝัง ณ สุสานหลวงแห่งนี้คือ จักรพรรดิโคเม และ จักรพรรดินีเอโช ไฟล์:GoMizunooKyoto.jpg หมวดหมู่:ยุคเอะโดะ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและสึกิ โนะ วะ โนะ มิซะซะงิ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดิญี่ปุ่น
จักรพรรดินีเมโช
มเด็จพระจักรพรรดินีเมโช (9 มกราคม 1624 – 4 ธันวาคม 1696) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 109 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางครองราชย์เมื่อ 22 ธันวาคม..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดินีเมโช
จักรพรรดิโกะ-มิซุโน
ักรพรรดิโกะ-มิซุโน (Emperor Go-Mizunoo) จักรพรรดิองค์ที่ 108 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น และเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิและจักรพรรดินีถึง 4 พระองค์คือ จักรพรรดินีเมโช องค์ที่ 109, จักรพรรดิโกะ-โคเมียว องค์ที่ 110, จักรพรรดิโกะ-ไซ องค์ที่ 111 และ จักรพรรดิเรเง็ง องค์ที่ 112 พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซุโนนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิเซวะ (Emperor Seiwa) จักรพรรดิองค์ที่ 56 ที่ปกครองในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ที่มีอีกพระนามหนึ่งว่า จักรพรรดิมิซุโน เมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปทำให้พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซุโนมีความหมายว่า จักรพรรดิมิซุโนที่สอง หรือ จักรพรรดิมิซุโนยุคหลัง ใน..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดิโกะ-มิซุโน
จักรพรรดิโกะ-โคเมียว
ักรพรรดิโกะ-โคเมียว (Emperor Go-Kōmyō) จักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 110 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดิโกะ-โคเมียว
จักรพรรดิโกะ-ไซ
ักรพรรดิโกะ-ไซ (Emperor Go-Sai) จักรพรรดิองค์ที่ 111 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดิโกะ-ไซ
จักรพรรดิโคเมียว
ักรพรรดิโคเมียว (Emperor Kōmyō) จักรพรรดิผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระองค์ที่ 2 จาก ราชสำนักเหนือ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดิโคเมียว
จักรพรรดิเรเง็ง
ักรพรรดิเรเง็ง (Emperor Reigen) จักรพรรดิองค์ที่ 112 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและจักรพรรดิเรเง็ง
นางาซากิ
มืองนางาซากิ เป็นเมืองเอกและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนางาซากิ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุ่น นางาซากิถูกก่อตั้งขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆเพื่อการประมง ซึ่งทำให้นางาซากิกลายเป็นศูนย์กลางอิทธิพลของชาวโปรตุเกสและชาวยุโรป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 มีโบสถ์และศาสนสถานของศาสนาคริสต์มากมายในนางาซากิ ซึ่งศาสนสถานเหล่านี้ ได้ถูกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก นอกเหนือไปจากนี้ ท่าเรือในนางาซากิ ยังเคยเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง และ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นามของเมืองว่า "นางาซากิ" (長崎) มีความหมายว่า "แหลมที่ทอดยาว" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง 9 สิงหาคม..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและนางาซากิ
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและโชกุน
โรคฝีดาษ
ฝีดาษตามลำตัวของผู้ป่วย การระบาดของฝีดาษในยุโรป การติดเชื้อฝีดาษของชาวอเมริกันอินเดียนจากชาวยุโรป ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ หรือ ไข้หัว (Smallpox) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก small poxvirus (Variolar) มีลักษณะเฉพาะคือมีผื่นขึ้นตามตัว และมีอาการทั่วไปรุนแรง โรคนี้ระบาดในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถานและเอธิโอเปียเมื่อปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและโรคฝีดาษ
โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
ทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ เป็นโชกุนคนที่ 2 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและโทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
โตเกียว
ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและโตเกียว
เคอัง
อัง ศักราชของญี่ปุ่น ซึ่งมาหลังปี โชโฮ และมาก่อนปี โจโอ โดยอยู่ในช่วง เมษายน..
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและเคอัง
เคียวโตะ
ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและเคียวโตะ
14 พฤศจิกายน
วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและ14 พฤศจิกายน
2 ธันวาคม
วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและ2 ธันวาคม
20 เมษายน
วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและ20 เมษายน
23 พฤศจิกายน
วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและ23 พฤศจิกายน
30 ตุลาคม
วันที่ 30 ตุลาคม เป็นวันที่ 303 ของปี (วันที่ 304 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 62 วันในปีนั้น.
ดู จักรพรรดิโกะ-โคเมียวและ30 ตุลาคม
ดูเพิ่มเติม
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2176
- จักรพรรดิโกะ-โคเมียว
- จี้ตู้
- ซามูเอล พีพส์
- พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
- วิลเลิม ฟัน เดอแฟ็ลเดอ (ผู้ลูก)
- เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)
- เซบัสเตียง เลอ แพร็สทร์ เดอ โวบ็อง
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2197
- จักรพรรดิโกะ-โคเมียว
บุคคลในยุคเอโดะ
- คิกุชิ โยไซ
- จักรพรรดินินโก
- จักรพรรดินีเมโช
- จักรพรรดิเมจิ
- จักรพรรดิเรเง็ง
- จักรพรรดิโกะ-โคเมียว
- จักรพรรดิโกะ-ไซ
- จักรพรรดิโคเม
- เจ้าหญิงยุกิโกะ
- เจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)
- โทกูงาวะ อิเอมิตสึ
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ