โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ vs. จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

ักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น องค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชสำนักใต้ ใน ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1383 - ค.ศ. 1392 พระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 13 ผู้เป็นต้นราชสกุล ไดกะกุจิ ที่ปกครอง ราชสำนักใต้ เมื่อใส่คำว่าโกะเข้าไปพระนามของพระองค์จึงมีความหมายว่า จักรพรรดิคะเมะยะมะยุคหลัง หรือ จักรพรรดิคะเมะยะมะที่ 2. ักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น และจักรพรรดิองค์แรกหลัง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1925 - พ.ศ. 1935 สมัยเป็นจักรพรรดิผู้อ้างสิทธิและ พ.ศ. 1935 - พ.ศ. 1955 สมัยเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิโคโก จักรพรรดิองค์ที่ 60 โดยเมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปพระนามของพระองค์จะแปลได้ว่า จักรพรรดิโคะมะสึที่ 2 หรือ จักรพรรดิโคะมะสึยุคหลัง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 1935ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ราชวงศ์ญี่ปุ่นราชสำนักใต้ราชสำนักเหนือรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิโชเกจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

พ.ศ. 1935

ทธศักราช 1935 ใกล้เคียงกั.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและพ.ศ. 1935 · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและพ.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้

ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ (Northern and Southern Courts period) ยุคแห่งความวุ่นวายในการอ้างสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศโดยดำเนินไปใน ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ หรือตรงกับยุค รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ในช่วงปี พ.ศ. 1877 - พ.ศ. 1935 แผนที่ที่แสดงถึงที่ตั้งราชสำนักของฝั่งเหนือและฝั่งใต้ ในยุคนี้ ราชสำนักเหนือ สถาปนาโดย รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ โดยมีราชธานีอยู่ที นครหลวงเฮอัง หรือ เคียวโตะ ในปัจจุบันส่วน ราชสำนักใต้ สถาปนาโดย จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ โดยมีราชธานีอยู่ที่เมือง โยะชิโนะ โดยความขัดแย้งของทั้งสองราชสำนักกินเวลายาวนานประมาณเกือบ 60 ปีจนกระทั่ง จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 และจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชสำนักใต้ทรงประกาศยอมแพ้ต่อ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ แห่งราชสำนักเหนือเมื่อปี พ.ศ. 1935 ทำให้ยุคสองราชสำนักสิ้นสุดลงซึ่งราชสำนักญี่ปุ่นในปัจจุบันนั้นสืบเชื้อสายจากราชสำนักเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1203 ตามตำนาน) โดยเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศนานที่สุดในโลกถึง 1,348 ปี และเป็นราชวงศ์ที่มีการสืบสันติวงศ์มากที่สุดในโลก จนถึงปัจจุบันรวมได้ถึง 125 รัชกาลแล้ว แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนมากอ้างว่าจักรพรรดิ 14 พระองค์แรกเป็นจักรพรรดิในตำนาน อนึ่งเนื่องจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นนั้นเริ่มทีหลังจากการมีจักรพรรดิ 14 พระองค์แรก จึงเป็นเรื่องถกเถียงกันว่า หากยังไม่ได้มีการรวมชาติใด ๆ จะมีจักรพรรดิได้เช่นไร สัญลักษณ์ประจำราชวงศ์คือ คิกุ (เรียกเต็มว่า คิกกะมนโช แปลว่า ลัญจกรดอกเบญจมาศ ราชวงศ์ญี่ปุ่นเป็นราชวงศ์แห่งเดียวในโลกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่ถึงแม้จะพ่ายแพ้ในสงคราม แต่พระราชวงศ์ก็มิได้ถูกล้มล้าง แม้สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะจะเป็นผู้ให้การต่อต้านการทำสงครามแต่ก็เป็นผู้คุมอำนาจสำคัญของการทำศึกต่อต้านฝ่ายสัมพันธมิตร ที่ยินยอมให้สหรัฐอเมริกาเข้าควบคุมญี่ปุ่นแทนการถูกนำตัวไปขึ้นศาลโลกในฐานะอาชญากรสงครามและล้มล้างพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเรียก "จักรพรรดิ" ว่า เท็นโน หมายถึง เทพเจ้าที่มาจากสวรรค์ ซึ่งเป็นคำจำกัดความของ "กษัตริย์ญี่ปุ่น" ราชวงศ์ญี่ปุ่นเคยได้รับการเคารพในฐานะอวตารเทพ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1946 สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะมีพระโองการว่า ทรงเป็นคนธรรมดา และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่น.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชวงศ์ญี่ปุ่น · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ราชสำนักใต้

ราชสำนักใต้ (Southern Court) ราชสำนักที่จักรพรรดิ 4 พระองค์ทรงปกครองในช่วง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ โดยปกครองในช่วงปี ค.ศ. 1338 - ค.ศ. 1392 ซึ่งยุคนี้ได้สิ้นสุดลงเมื่อ จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชสำนักใต้ได้ประกาศยอมแพ้ต่อ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ แห่ง ราชสำนักเหนือ ที่มาของชื่อมาจากที่ตั้งเมืองหลวงของราชสำนักใต้คือ โยะชิโนะ (ปัจจุบันคืออำเภอหนึ่งใน จังหวัดนะระ) นั้นตั้งอยู่ทางใต้ของ นครหลวงเคียวโตะ เมืองหลวงของ ราชสำนักเหนือ ซึ่งบางทีก็เรียกว่า ราชสำนักโยะชิโนะ โดยราชสำนักใต้มีชื่อราชสกุลว่า ไดกะกุจิ ซึ่งมีที่มาจากชื่อพระตำหนักที่ใช้ว่าราชการในวัดของ จักรพรรดิโกะ-อุดะ พระราชโอรสของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ ผู้เป็นต้นราชสกุล.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชสำนักใต้ · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและราชสำนักใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสำนักเหนือ

แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองหลวงในยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ราชสำนักเหนือ (Northern court) หรือ ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝ่ายเหนือ ราชสำนักที่ผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ทั้ง 6 พระองค์ปกครองในช่วง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ โดยมี นครหลวงเคียวโตะ เป็นเมืองหลวง ราชสำนักเหนือนั้นสืบเชื้อสายจากราชสกุล จิเมียวอิง ซึ่งแปลว่า สายใหญ่ ที่มี จักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะ ทรงเป็นต้นราชสกุลโดยราชสกุลของ จักรพรรดิอะกิฮิโตะ ที่ปกครองประเทศในปัจจุบันนั้นสืบเชื้อสายมาจาก ราชสำนักเหนือ นั่นเอง โดยที่มาของชื่อราชสกุลนั้นมาจากพระตำหนัก จิเมียวอิง ที่ประทับของจักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะและ จักรพรรดิฟุชิมิ ภายหลังสละราชบัลลังก์แล้ว ราชสำนักเหนือสิ้นสุดลงเมื่อคราวที่ จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จาก ราชสำนักใต้ ทรงสละราชบัลลังก์ให้กับ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จากราชสำนักเหนือเพื่อรวมแผ่นดินญี่ปุ่นเป็นหนึ่งเดียวเมื่อปี ค.ศ. 1392 เป็นอันสิ้นสุดยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ หมวดหมู่:ยุคมุโระมะจิ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชสำนักเหนือ · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและราชสำนักเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

ไม่มีคำอธิบาย.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

จักรพรรดิญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ · จักรพรรดิญี่ปุ่นและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชเก

ักรพรรดิโชเก (Emperor Chōkei) จักรพรรดิองค์ที่ 98 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโชเกทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 1368 - ค.ศ. 1383 โดยทรงเป็นสมาชิกจาก ราชสำนักใต้ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโชเก · จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึและจักรพรรดิโชเก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

ักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น องค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชสำนักใต้ ใน ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1383 - ค.ศ. 1392 พระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 13 ผู้เป็นต้นราชสกุล ไดกะกุจิ ที่ปกครอง ราชสำนักใต้ เมื่อใส่คำว่าโกะเข้าไปพระนามของพระองค์จึงมีความหมายว่า จักรพรรดิคะเมะยะมะยุคหลัง หรือ จักรพรรดิคะเมะยะมะที่ 2.

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ · จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 18.75% = 9 / (25 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »