เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40 vs. ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.

อห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40 เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกสูงสุดของไทยฤดูกาลแรก โดยปรับเปลื่ยนจาก ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ก. โดยมี 18 สโมสรที่มาจาก ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ก. ฤดูกาล 2538 โดยเริ่มจัดการแข่งขันอย่างเป็นทางการภายใต้การดูแลของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับผู้สนับสนุนหลักคือ จอห์นนี่วอล์กเกอร์ และทำให้ ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ก. แปรสภาพเป็นฟุตบอลในระดับ ซูเปอร์คัพ ในที. ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท. (Khŏr Royal Cup) หรือชื่อเดิม ถ้วยน้อย (เปลี่ยนชื่อในปี 2506) ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 2 ของประเทศไทยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี 2459 พร้อมกับ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. หรือ ถ้วยใหญ่ โดยกรมทหารราชวัลลภ สามารถคว้าแชมป์ในรายการนี้เป็นทีมแรก ในปี 2506 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้ทำการเปลี่ยนชื่อฟุตบอลถ้วยใหญ่และฟุตบอลถ้วยน้อยเป็น ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. และ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สโมสรฟุตบอลการท่าเรือสโมสรฟุตบอลราชวิถีสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลอาร์แบคสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทยสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทยสโมสรฟุตบอลทีเอ ระยองสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัลสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจสโมสรกีฬาราชประชาไทยลีกไทยลีก 2

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (Kor Royal Cup) หรือชื่อเดิม ถ้วยใหญ่ (เปลี่ยนชื่อในปี พ.ศ. 2506) ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานระดับชั้นที่ 1 ของประเทศไทยจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2459 พร้อมกับ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. หรือ ถ้วยน้อย โดยกรมมหรสพ สามารถคว้าแชมป์ในรายการนี้เป็นทีมแรก ในปี พ.ศ. 2506 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้ทำการเปลี่ยนชื่อฟุตบอลถ้วยใหญ่และฟุตบอลถ้วยน้อยเป็น ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. และ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ

มสรฟุตบอลการท่าเรือ (Port F.C.) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยได้เข้ามาร่วมเล่นใน ไทยลีก ครั้งแรกในปี..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลราชวิถี

มสรฟุตบอลราชวิถี เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ลงแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2511 โดยพี่น้อง สำเริง ไชยยงค์ และ เสนอ ไชยยงค์ ในอดีตยุคก่อนจะเกิดการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก สโมสรฟุตบอลราชวิถีจัดเป็นสโมสรที่โด่งดังและประสบความสำเร็จสโมสรหนึ่ง โดยสร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ประเภท ก ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับสูงที่สุดของประเทศไทยในขณะนั้นได้ถึง 4 สมัย รวมถึงสามารถคว้าแชมป์ฟุตบอลควีนส์คัพ ได้ 1 สมัย หลังจากที่สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยได้ก่อตั้งระบบฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศไทยอย่างไทยลีกขึ้น สโมสรฟุตบอลราชวิถีได้ลงแข่งขันในไทยลีกฤดูกาลแรก (ฤดูกาล 2539) ซึ่งนับเป็นการลงเล่นในลีกสูงสุดฤดูกาลแรกและฤดูกาลเดียวของสโมสร ก่อนจะตกชั้นเมื่อจบฤดูกาล ตั้งแต..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลราชวิถี · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลราชวิถี · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด

ัญลักษณ์สโมสร ใช้เฉพาะฤดูกาล 2560 สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด (เดิมชื่อ "สโมสรฟุตบอลทหารบก") เป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่สโมสรหนึ่งในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2459.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์แบค

มสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผล อาร์แบค โดยเริ่มแรกได้ส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันในนามของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อนทางกลุ่มของ ถิรชัย วุฒิธรรม (กลุ่มกรุงเทพมหานคร) ได้บริหารทีมและโอนสิทธิ์ให้ทาง มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เข้าบริหารต่อจนถึงปัจจุบัน โดยในผลงานในอดีตได้อันดับ 4 ในฤดูกาลปกติ ของการแข่งขัน ไทยลีก ฤดูกาลแรก และรองชนะเลิศในการแข่งขัน เพลย์ออฟชิงชนะเลิศในฤดูกาลนั้น.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลอาร์แบค · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลอาร์แบค · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย

มสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยมีธนาคารกรุงไทย เป็นผู้สนับสนุนหลักและเป็นเจ้าของสโมสร ผลงานในอดีต เคยเป็นทีมชนะเลิศการแข่งขัน ไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก และถ้วยพระราชทาน ก. 2 สมัยซ้อน ภายใต้การจัดการทีมของ ณรงค์ สุวรรณโชติ และ วรวุฒิ แดงเสมอ และยังเคยเข้าร่วมแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกในปี 2008 ภายหลังจากทีมจากอินโดนีเซียถูกตัดสิทธิ์ แต่สโมสรตกรอบแรก.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงไทย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ

มสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย และเป็นส่วนหนึ่งในสายงานธุรกิจของธนาคารกรุงเทพ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2506 โดยสามารถชนะเลิศ ถ้วย ก ได้ถึง 9 สมัย และ เป็นทีมแรกที่ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอล ไทยลีก ในปี พ.ศ. 2539.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย

มสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย และ เป็นส่วนหนึ่งในสายงานของ ธนาคารกสิกรไทย โดยผลงานในอดีตของทีม นับว่าประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติมากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยเป็นสโมสรเดียวในประเทศไทยที่ชนะเลิศการแข่งขัน เอเชียนแชมเปียนส์คัพ ถึง 2 สมัย ซึ่งต่อมา สหพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชียได้ทำการรวมการแข่งขันดังกล่าวกับเอเชียนคัพวินเนอร์คัพ และเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก จนถึงปัจจุบัน.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลทีเอ ระยอง

มสรฟุตบอลทีเอ ระยอง เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ในอดีตสโมสรใช้ชื่อในการแข่งขันว่า สโมสรจังหวัดระยอง สร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. ได้ในปี..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลทีเอ ระยอง · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลทีเอ ระยอง · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล

มสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล เดิมชื่อ สโมสรฟุตบอลทหารอากาศ เป็นสโมสร ฟุตบอล ใน ประเทศไทย ปัจจุบันแข่งขันในไทยลีก ในอดีตชนะเลิศไทยลีก 2 ครั้ง และ ควีนส์คัพ ชนะเลิศ 3 ครั้ง.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ

มสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ เป็นสโมสรที่ยืนหยัดคู่กับวงการฟุตบอลไทยมา 50 ปี ได้สร้างชื่อเสียง และประสบความสำเร็จมาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในอดีต ทีมตราโล่ และเสื้อสีเลือดหมูได้โลดแล่นอยู่ในวงการฟุตบอลไทยตลอดมา ในอดีตสโมสรฟุตบอลตำรวจ บริหารโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติตั้งแต่ปี..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาราชประชา

มสรกีฬาราชประชา เป็นสโมสรฟุตบอล ในประเทศไทย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับ ไทยลีก 3 โซนใต้ สโมสรกีฬาราชประชาถือเป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรฟุตบอลที่สามารถคว้าแชมป์ไทยเอฟเอคัพได้เป็นสโมสรแรก และเป็นสโมสรที่ได้แชมป์เอฟเอคัพมากที่สุดในประเทศไทยที่ 5 สมัย รวมถึงการสร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. ได้ถึง 4 สมัย, แชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. 1 สมัย และ ได้แชมป์ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 1 สมัย นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องในด้านการสนับสนุนนักฟุตบอลระดับเยาวชน และถือเป็นสโมสรหนึ่งที่ผลิตนักฟุตบอลป้อนเข้าสู่ที่ชาติไทยมากที่สุดตลอดระยะเวลากว่า 40 ปี สโมสรกีฬาราชประชายังได้รับการยกย่องว่าเป็นต้นแบบของฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย เนื่องจากเป็นทีมที่ลงแข่งขันฟุตบอลสโมสรในระดับสูงสุดทีมแรกที่ไม่ใช่ทีมราชการ,รัฐวิสาหกิจ,ทหาร,ตำรวจ,ธนาคาร หรือ ตัวแทนบริษัทห้างร้านใหญ่ๆ หากแต่เป็นเพียงทีมที่ทำฟุตบอลอย่างเดียวเท่านั้นโดยไม่มีกิจการอื่นมาคอยสนับสนุนงบประมาณ สโมสรถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการครั้งแรกในชื่อ "ทีมราชประชานุเคราะห์ดับเพลิง" โดย พล.ต.ต.ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร สโมสรลงเล่นอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 กุมภาพัน..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และสโมสรกีฬาราชประชา · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และสโมสรกีฬาราชประชา · ดูเพิ่มเติม »

ไทยลีก

ทยลีก (Thai League; ชื่อย่อ T1) เป็นระบบการแข่งขันฟุตบอลลีกในระดับสูงสุดของประเทศไทย ก่อตั้งในปี..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และไทยลีก · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยลีก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยลีก 2

ทยลีก 2 (Thai League 2; ชื่อย่อ T2) เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพ ระดับที่สองใน ประเทศไทย ก่อตั้งในปี..

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และไทยลีก 2 · ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.และไทยลีก 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.

จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40 มี 52 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 15.62% = 15 / (52 + 44)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: