เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จอร์จ ออร์เวลล์และอันตอน เชคอฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และอันตอน เชคอฟ

จอร์จ ออร์เวลล์ vs. อันตอน เชคอฟ

อร์จ ออร์เวลล์ จอร์จ ออร์เวลล์ (George Orwell) เป็นนามปากกาของ เอริก อาร์เทอร์ แบลร์ (Eric Arthur Blair) นักเขียนชาวอังกฤษ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2446 - 21 มกราคม พ.ศ. 2493) นอกจากจะเป็นนักวิจารณ์ด้านการเมืองและวัฒนธรรมแล้ว ออร์เวลล์ยังเป็นนักเขียนความเรียงที่มีผู้ชื่นชมมากที่สุดคนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 อย่างไรก็ตามเขาเป็นที่รู้จักจากนวนิยายสองเรื่องที่เขาเขียนช่วงท้ายทศวรรษ 1940 ชื่อ แอนิมัลฟาร์ม (Animal Farm) ซึ่งเป็นนิยายล้อเลียนการเมือง (มีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนในภายหลังด้วย) และ หนึ่งเก้าแปดสี่ (1984) ซึ่งกล่าวถึงดิสโทเปียที่มีการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จได้อย่างเห็นภาพ จนกระทั่งมีการใช้คำว่า แบบออร์เวลล์ เพื่อใช้เรียกระบบระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในการครอบงำความ. อันตอน ปัฟโลวิช เชคอฟ (Анто́н Па́влович Че́хов Anton Pavlovich Chyekhov, Anton Chekhov) (29 มกราคม ค.ศ. 1860 - (15 กรกฎาคม ค.ศ. 1904) อันตอน เชคอฟเป็นนายแพทย์, นักเขียนเรื่องสั้น และ นักเขียนบทละครคนสำคัญชาวรัสเซีย ผู้ถือกันว่าเป็นนักเขียนผู้มีความสามารถมากที่สุดคนหนึ่งของวรรณกรรมเรื่องสั้น เชคอฟเขียนบทละครสี่เรื่องที่ถือกันว่าเป็นงานคลาสสิกโดยนักเขียนและนักวิพากษ์วรรณกรรม"Stories… which are among the supreme achievements in prose narrative." George Steiner's review of The Undiscovered Chekhov, in The Observer, 13 May 2001. Retrieved 16 February 2007. ระหว่างที่ทำงานเขียนเชคอฟก็ยังเป็นนายแพทย์ไปด้วยในขณะเดียวกัน ครั้งหนึ่งเชคอฟเปรียบการเป็นแพทย์กับการเขียนว่า "การแพทย์เป็นภรรยาตามกฎหมายและการเขียนเป็นภรรยาน้อย" เชคอฟหันหลังให้กับโรงละครเมื่อบทละครเรื่อง The Seagull (นกนางนวล) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1896 ล้มเหลวอย่างไม่เป็นท่า แต่ได้รับการรับรองเป็นอย่างดีเมื่อถูกนำกลับมาแสดงอีกครั้งในปี ค.ศ. 1898 โดยโรงละครศิลปะมอสโคว์ของคอนแสตนติน สตานิสสลาฟสกี (Constantin Stanislavski) ซึ่งต่อมาก็สร้างละคร Uncle Vanya (ลุงวานยา) และสร้างละครสองเรื่องสุดท้ายของเชคอฟเป็นครั้งแรก Three Sisters (สามศรีพี่น้อง) และ The Cherry Orchard (สวนเชอร์รี) งานบทละครสี่ชิ้นนี้เป็นงานที่ท้าทายนักแสดง และผู้ชมเพราะแทนที่จะเป็นการสื่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เชคอฟใช้ "บรรยากาศ" (theatre of mood) และ "ฝังชีวิตลงในเนื้อหา" (submerged life in the text) ในระยะแรกเชคอฟเขียนเรื่องสั้นเพื่อหารายได้ แต่เมื่อแรงบันดาลใจทางด้านศิลปะเริ่มก่อตัวขึ้น เชคอฟก็เริ่มใช้วิธีใหม่ที่เป็นการปฏิรูปการเขียนเรื่องสั้นสมัยใหม่ ความเป็นเอกลักษณ์ของเชคอฟอยู่ที่การเป็นผู้เริ่มใช้วิธีเขียนที่เรียกว่า "การเขียนตามกระแสสำนึก" (stream of consciousness writing) ที่ต่อมานำมาใช้โดยเจมส์ จอยซ์ และนักเขียนแบบวรรณกรรมสมัยใหม่นิยม (Modernist literature) คนอื่นๆ ที่มารวมกับการไม่ยอมสรุปความเห็นทางด้านจริยธรรม ตามธรรมเนียมโครงสร้างของการเขียนวรรณกรรมก่อนหน้านั้น เชคอฟไม่ยอมแก้ตัวแต่อย่างใดในข้อที่ว่าบทละครทีตนเองเขียนเป็นบทละครที่ยากต่อความเข้าใจของผู้อ่าน โดยยืนกรานว่าหน้าที่ของศิลปินคือการตั้งคำถามมิใช่การตอบคำถาม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และอันตอน เชคอฟ

จอร์จ ออร์เวลล์และอันตอน เชคอฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และอันตอน เชคอฟ

จอร์จ ออร์เวลล์ มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ อันตอน เชคอฟ มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (13 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และอันตอน เชคอฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: