โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จอร์จ ออร์เวลล์และพม่ารำลึก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และพม่ารำลึก

จอร์จ ออร์เวลล์ vs. พม่ารำลึก

อร์จ ออร์เวลล์ จอร์จ ออร์เวลล์ (George Orwell) เป็นนามปากกาของ เอริก อาร์เทอร์ แบลร์ (Eric Arthur Blair) นักเขียนชาวอังกฤษ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2446 - 21 มกราคม พ.ศ. 2493) นอกจากจะเป็นนักวิจารณ์ด้านการเมืองและวัฒนธรรมแล้ว ออร์เวลล์ยังเป็นนักเขียนความเรียงที่มีผู้ชื่นชมมากที่สุดคนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 อย่างไรก็ตามเขาเป็นที่รู้จักจากนวนิยายสองเรื่องที่เขาเขียนช่วงท้ายทศวรรษ 1940 ชื่อ แอนิมัลฟาร์ม (Animal Farm) ซึ่งเป็นนิยายล้อเลียนการเมือง (มีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนในภายหลังด้วย) และ หนึ่งเก้าแปดสี่ (1984) ซึ่งกล่าวถึงดิสโทเปียที่มีการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จได้อย่างเห็นภาพ จนกระทั่งมีการใช้คำว่า แบบออร์เวลล์ เพื่อใช้เรียกระบบระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในการครอบงำความ. ม่ารำลึก (Burmese Days) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยจอร์จ ออร์เวลล์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนตุลาคม 1934 ฉากในเรื่องคือประเทศพม่าช่วงทศวรรษ 1920 ซึ่งในขณะนั้นพม่าเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ระหว่างปี 1922–1927 ออร์เวลล์รับราชการเป็นตำรวจอาณานิคมอินเดียในพม่า และย้ายไปประจำอยู่หลายเมือง ทำให้เขามีโอกาสได้พบเห็นเรื่องราวต่าง ๆ เมื่อออกจากราชการแล้วไปพำนักที่ปารีส ออร์เวลล์ก็เริ่มร่างโครงเรื่อง และเขียนเสร็จในปี 1933Orwell, Sonia and Angus, Ian (eds.). The Collected Essays, Journalism and Letters of George Orwell Volume 1: An Age Like This (1920–1940) (Penguin) ในครั้งแรกนิยายเรื่องนี้ถูกปฏิเสธจากหลายสำนักพิมพ์เนื่องจากมีเนื้อหาที่พาดพิงถึงสังคมในยุคนั้น แต่หลังจากการปรับปรุงเนื้อหาบางส่วน สำนักพิมพ์ฮาร์เปอร์ของสหรัฐอเมริกาก็ตีพิมพ์ในปี 1934 ปีต่อมาสำนักพิมพ์ของวิกเตอร์ กอลลังซ์ (Victor Gollancz) ได้ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักร หลังจากตรวจสอบแล้วว่าไม่ได้พาดพิงถึงบุคคลหรือเหตุการณ์จริง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และพม่ารำลึก

จอร์จ ออร์เวลล์และพม่ารำลึก มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): นวนิยาย

นวนิยาย

นวนิยาย เป็นรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมลายลักษณ์ แต่งในรูปของร้อยแก้ว มีลักษณะแตกต่างจากเรื่องแต่งงงแบบเดิม ที่เรียกว่า นิยาย หรือนิทาน ที่เรียกว่า "นวนิยาย" ก็เพราะถือเป็นนิยายแบบใหม่ (novel) ตามแบบตะวันตก นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาพูดโดยทั่วไปนิยมเรียกว่า "นิยาย" ซึ่งกะทัดรัดกว่า โดยคำว่า "นิยาย" เป็นคำมาจากภาษาเขมรที่ออกเสียงว่า "นิเยย" (និយាយ) หมายถึง "พูด" นวนิยายนั้น เป็นเรื่องราวที่มีลักษณะสมจริงมากกว่านิทานหรือนิยายแบบเดิม บางครั้งอาศัยฉากหรือเหตุการณ์จริง หรืออิงความเป็นจริง มีบทสนทนา และบรรยายเหตุการณ์อย่างปุถุชนทั่วไป.

จอร์จ ออร์เวลล์และนวนิยาย · นวนิยายและพม่ารำลึก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และพม่ารำลึก

จอร์จ ออร์เวลล์ มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ พม่ารำลึก มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.56% = 1 / (13 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จอร์จ ออร์เวลล์และพม่ารำลึก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »