โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จอร์จ วอชิงตัน

ดัชนี จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

89 ความสัมพันธ์: บอสตันชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาบิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐฟรีเมสันฟิลาเดลเฟียพ.ศ. 2275พ.ศ. 2318พ.ศ. 2326พ.ศ. 2332พ.ศ. 2340พ.ศ. 2342พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์พิตต์สเบิร์กกฎหมายทาสที่หลบหนีกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐการยอมรับความต่างทางศาสนาการยับยั้งการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอเมริกาภูเขารัชมอร์มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียมหาสมุทรแอตแลนติกมอนโรเวียมาร์ธา วอชิงตันระบบสองสภารัฐวอชิงตันรัฐสภาสหรัฐรัฐธรรมนูญสหรัฐรัฐนอร์ทแคโรไลนารัฐนิวเจอร์ซีย์รัฐแมริแลนด์รัฐแมสซาชูเซตส์รัฐโรดไอแลนด์รัฐเพนซิลเวเนียรัฐเวสต์เวอร์จิเนียรัฐเวอร์มอนต์รัฐเวอร์จิเนียรัฐเทนเนสซีรัฐเคนทักกีรัฐเซาท์แคโรไลนารายนามประธานาธิบดีสหรัฐลอนดอนวอชิงตัน ดี.ซี.วอลสตรีตวัณโรควันชาติสหรัฐสัตยาบัน...สงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามเจ็ดปีหอสมุดรัฐสภาอับราฮัม ลินคอล์นอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตันผู้บัญชาการทหารจอห์น แอดัมส์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1ธีโอดอร์ โรสเวลต์ทหารทอมัส เจฟเฟอร์สันทำเนียบขาวดอลลาร์สหรัฐคริสตจักรแห่งอังกฤษควอร์เตอร์ปฏิทินจูเลียนปฏิทินเกรโกเรียนปรอทประธานาธิบดีสหรัฐประเทศบาร์เบโดสประเทศฝรั่งเศสประเทศจอร์เจียประเทศแคนาดาประเทศไลบีเรียนิวยอร์ก (แก้ความกำกวม)นครนิวยอร์กแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์แม่น้ำโอไฮโอแคริบเบียนโรมันคาทอลิกโรคฝีดาษโรเบิร์ต อี. ลีเมานต์เวอร์นอนเทือกเขาบลูริดจ์เคมบริดจ์ (รัฐแมสซาชูเซตส์)14 ธันวาคม22 กุมภาพันธ์30 เมษายน4 มีนาคม ขยายดัชนี (39 มากกว่า) »

บอสตัน

อสตัน (Boston) เป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตนิวอิงแลนด์ บอสตันเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด มั่งคั่งที่สุด และมีวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ ธุรกิจที่สำคัญในบอสตัน ได้แก่ การศึกษา สถานพยาบาล การเงิน และเทคโนโลยี บอสตันได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาที่สำคัญแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 100 แห่งในเมืองบอสตัน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยที่สำคัญและมีชื่อเสียงอื่นๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยบอสตัน วิทยาลัยบอสตัน มหาวิทยาลัยทัฟส์ และ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทีมกีฬาหลายทีมประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงในบอสตัน ได้แก.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและบอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา

ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาที่มีชื่อเสียง แถวบน:ดับเบิลยู. อี. บี. ดู บอยส์ • มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ • เอดเวิร์ด บรูกแถวล่าง:มัลคอล์ม เอกซ์ • โรซา พรากส์ • ซอเยอร์เนอร์ ทรูธ ในสหรัฐอเมริกา คำว่า ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา (African-American, Afro-American) ภาษาปากว่า ชาวอเมริกันผิวดำ (Black American) เป็นชื่อเรียกของคนที่มีผิวสีดำแตกต่างจากคนอเมริกันที่มีผิวขาว โดยต้นกำเนิดของคนผิวสีส่วนใหญ่แล้วจะเริ่มมาจากทวีปแอฟริกา แต่เนื่องจากเหตุการณ์การล่าอาณานิคมและธุรกิจการค้าทาส ทำให้ผู้คนเหล่านี้ถูกพาเข้ามาอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก ในอดีตสหรัฐอเมริกามีปัญหาการเหยียดสีผิวอย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันนี้ทุกคนได้รับความเท่าเทียมกันในสังคม วัฒนธรรมของคนดำนั้นได้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับมากขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านดนตรี รวมทั้งการแต่งกายและการกีฬา หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

บิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ

การลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐฉบับแรก บิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ (Founding Fathers of the United States) หมายถึง ผู้นำทางการเมืองที่ได้ลงนามในคำประกาศอิสรภาพในช่วงปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและบิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีเมสัน

ัญลักษณ์ไม้ฉากและวงเวียนของ “องค์กรฟรีเมสัน” องค์กรฟรีเมสัน (Freemasonry) เป็นองค์กรภราดรภาพที่มีที่มาของเบื้องหลังอันลึกลับตั้งแต่ราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 องค์กรฟรีเมสันในปัจจุบันมีด้วยกันหลายรูปหลายแบบในประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยมีสมาชิกประมาณ 5 ล้านคนที่รวมทั้งเกือบ 2 ล้านคนในสหรัฐอเมริกา และราว 480,000 คนในอังกฤษ, สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดองค์กรฟรีเมสันจะถือปรัชญาจริยธรรม และอภิปรัชญาเดียวกันที่ในเกือบทุกกรณีก็จะเป็นการประกาศธรรมนูญของความเชื่อใน “ผู้เหนือสิ่งทั้งปวง” (Supreme Being) องค์กรฟรีเมสันจัดระบบบริหารเป็นหน่วยที่เรียกว่า “แกรนด์ลอดจ์” (Grand Lodges) หรือ “แกรนด์โอเรียนท์” (Grand Orients) แต่ละหน่วยก็จะมีอำนาจบริหารเครือข่ายของตนเอง ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยหรือ “Constituent Lodges” แกรนด์ลอดจ์บ่งตนเองระหว่างกันได้โดยกระบวนการที่เรียกว่า “บัญญัติเมสัน” (Masonic Landmarks) และ “ระเบียบเมสัน” (Regular Masonic jurisdictions) นอกจากนั้นก็ยังมี “องค์กรเมสันย่อย” (Masonic bodies) ที่มีความสัมพันธ์กันองค์กรหลักแต่มีระบบการบริหารของตนเอง องค์กรฟรีเมสันใช้อุปลักษณ์ของเครื่องมือช่างหินและวัดโซโลมอนที่ทั้งสมาชิกขององค์กรและผู้วิพากษ์กล่าวว่าเป็น “ระบบของจริยธรรมที่พรางอยู่เบื้องหลังอุปมานิทัศน์ ที่ออกมาในรูปของสัญลักษณ์” องค์กรฟรีเมสัน เป็นองค์กรภราดรภาพ ที่มีประวัติความเป็นมายาวนานย้อนไปถึงต้นกำเนิดคือ องค์กรภราดรภาพของพวกช่างหินตามท้องถิ่นต่างๆ เมื่อปลายศตวรรษที่ 14 ที่มีหน้าที่คอยควบคุมดูแลมาตรฐานฝีมือการทำงานของพวกช่างหิน และเป็นองค์กรกลางที่คอยประสานงาน กับผู้ปกครอง และลูกค้า ของพวกเขา ระดับขั้นของฟรีเมสัน แบ่งออกเป็นสามระดับ ตามระดับการแบ่งฝีมือของช่างหินโดยสมาคมช่างหิน (mason guild) ในยุคกลางของยุโรป ดังนี้ ช่างฝึกหัด (Apprentice) ช่างฝีมือ (Journeyman or fellow (now called Fellowcraft))  เป็นช่างที่ผ่านการฝึก และได้รับการพิสูจน์ว่ามีฝีมือแล้วจะได้รับใบแสดงความสามารถที่จะเดินทางไปทำงานในที่อื่นๆได้) และ นายช่าง (Master Mason) เป็นผู้ที่มีฝีมือโดดเด่น และได้รับเลือกจากสมาชิกสมาคมให้เป็นผู้นำ ในปัจจุบันองค์กรฟรีเมสัน ที่เราเรียกว่า Blue Lodge ซึ่งเป็นองค์กรฐานรากของฟรีเมสัน เป็นผู้แต่งตั้งระดับเหล่านี้ให้กับสมาชิก นอกจากนี้ยังมี ระดับเพิ่มเติมไปอีกหลายระดับ แตกต่างกันไปตาม พื้นที่ปกครองของ Grand Lodge ต่างๆ โดยระดับเพิ่มเติมนี้มักจะตั้งองค์กรของตัวเองควบคุมขึ้นมาโดยเฉพาะ โดยพื้นฐานแล้ว หน่วยที่เล็กที่สุดของฟรีเมสัน คือ สภาฟรีเมสันท้องถิ่น หรือเรียกว่าลอดจ์ (Lodge) โดยจะถูกกำกับดูแล โดย สภาฟรีเมสันระดับภาค หรือประเทศ หรือเรียกว่า แกรนด์ลอดจ์ หรือ แกรนด์ โอเรียนท์ (Grand Lodge or Grand Orient) โดยส่วนมาก แบ่งพื้นที่เป็น ประเทศ จังหวัด แคว้น หรือมลรัฐ เช่นใน สหรัฐอเมริกา แบ่งพื้นที่ออกเป็นมลรัฐ ฟรีเมสันไม่มีองค์กรกลางระดับนานาชาติที่เข้ามาควบคุมหรือเป็นตัวแทนของ ฟรีเมสันทั้งหมด โดยแต่ละแกรนด์ลอดจ์ มีอิสระที่จะกำหนดข้อกำหนดเอง และมีสิทธิ์ที่จะรับรู้รับรองการมีอยู่ของแกรนด์ลอดจ์ อื่นๆ โดยอิสระ ในปัจจุบัน องค์กรฟรีเมสัน มีอยู่สองแบบ ด้วยกัน คือ องค์กรฟรีเมสันแบบปกติ (Regular Freemason) เป็นองค์กรฟรีเมสันที่เมื่อมีการประกอบพิธีการประชุมของลอดจ์ ต้องเปิดคัมภีร์ทางศาสนา กลางห้องประชุมเสมอ อีกทั้งทุกคนที่จะเข้ามาเป็นสมาชิก ต้องเชื่อในสิ่งที่ดำรงอยู่สูงสุด (นับถือศาสนา) ไม่รับสมาชิกผู้หญิง และการพูดคุยถกเถียงกันใน เรื่องการเมืองและศาสนา ในลอดจ์ เป็นเรื่องต้องห้าม อีกประเภทหนึ่งคือ ฟรีเมสันแบบภาคพื้น (Continental Freemason) หรือเรียกกันว่า ฟรีเมสันแบบเสรีนิยม โดยลอดจ์ที่เป็นฟรีเมสันแบบเสรีนิยมจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบบ้างส่วน ที่เป็นหลักยึดถือของฟรีเมสันแบบปกติ เช่นการรับผู้หญิง หรือผู้ไม่นับถือศาสนาเป็นสมาชิก หรือสามารถพูดคุยเรื่อง ศาสนา และการเมืองในลอดจ์ได้ เป็นต้น โดยฟรีเมสันแบบนี้เกิดขึ้นในภาคพื้นยุโรป คือประเทศฝรั่งเศสเป็นสำคัญ .

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและฟรีเมสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลาเดลเฟีย

ฟิลาเดลเฟีย Philadephia หรือที่ เรียกกันว่า Philly หรือ The City of Brotherly Love เป็นเมืองหลวงแห่งแรก ของ America เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐเพนซิลเวเนีย และเป็นเมืองที่พลเมืองหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่มีพื้นที่เมืองจากประชากรเป็นอันดับ 5 Retrieved on March 12, 2011.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและฟิลาเดลเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2275

ทธศักราช 2275 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพ.ศ. 2275 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2318

ทธศักราช 2318 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพ.ศ. 2318 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2332

ทธศักราช 2332 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพ.ศ. 2332 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2340

ทธศักราช 2340 ตรงกับคริสต์ศักราช 1797 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพ.ศ. 2340 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์

ีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248 หรือพิธีมหาสนิท(Eucharist; Holy Communion) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิก, อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์บางคณะเรียกว่าศีลมหาสนิท เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และไวน์ (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต) การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของพระเป็นเจ้า เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน ในนิกายโปรเตสแตนต์ กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทตามพระวรสารนักบุญลูกา ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทเฉพาะตามที่พระศาสนจักรคาทอลิกกำหน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิตต์สเบิร์ก

ตต์สเบิร์ก (Pittsburgh) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา และเป็นเคาน์ตีซีตของแอลลิเกนีเคาน์ตี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐ ตรงจุดบรรจบของแม่น้ำแอลลิเกนีและแม่น้ำโมนังกาฮีลาซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำโอไฮโอ เป็นเมืองที่มีเขตเมืองใหญ่เป็นอันดับ 22 ของสหรัฐอเมริกา มีประชากร 305,704 คน (สำรวจเมื่อ ค.ศ. 2010) เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์สำคัญในเรื่องการผลิตเหล็กกล้า ปัจจุบันมีเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ด้านสุขภาพ การศึกษา เทคโนโลยี หุ่นยนต์ และการให้บริการการเงิน เมืองได้มีการปรับปรุงเมือง ในสถานที่ที่เคยเป็นย่านอุตสาหกรรมที่ทิ้งร้าง เปลี่ยนมาเป็นสำนักงานและย่านช็อปปิ้ง เช่นบริเวณเซาท์ไซด์เวิกส์ และเบเกอรีสแควร์ ฝรั่งเศสสร้างป้อมดูเคนขึ้นที่บริเวณเมืองนี้ใน ค.ศ. 1754 ต่อมาอังกฤษได้ยึดป้อมในปี ค.ศ. 1758 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นพิตต์ จนเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานในปี ค.ศ. 1760 และตั้งเป็นเมืองในปี ค.ศ. 1816.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและพิตต์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายทาสที่หลบหนี

ผู้หวังดีติดป้ายประกาศให้คนผิวสีที่กำลังหลบหนีระวังเจ้าหน้าที่จับกุม กฎหมายไล่ล่าทาสที่หลบหนี (Fugitive Slave Law) ของประเทศสหรัฐฯ ผ่านรัฐสภาออกประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2393 โดยมีผู้ออกเสียงคัดค้านเพียง 4 เสียง กฎหมายฉบับนี้กำหนดบทลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลที่ไม่จับกุมและกล่าวโทษทาสที่หลบหนีจะต้องถูกปรับไม่เกิน 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้ที่เป็นที่น่าสงสัยว่าจะเป็นทาสหลบหนีจะถูกจับโดยไม่มีการประกันและจะถูกนำตัวส่งให้ผู้เป็นเจ้าของทาสซึ่งสามารถอ้างความเป็นเจ้าของได้เพียงด้วยการสาบานว่าเป็นเจ้าของทาสจริง คนผิวสีผู้ต้องสงสัยว่าเป็นทาสหลบหนีไม่มีสิทธิ์ที่จะขอให้ศาลพิจารณาการสอบสวน ผู้ให้ความช่วยเหลือแก่ทาสที่หลบหนีโดยการให้ที่พักพิง ให้อาหารหรือการช่วยเหลือในแบบอื่นใด มีโทษจำคุก 6 เดือนและปรับ 1,000 ดอลลาร์ เจ้าหน้าที่ที่จับทาสหลบหนีได้จะได้รับเงินรางวัล ซึ่งเป็นต้นเหตุให้เกิดการลักพาตัวทาสที่ถูกปล่อยเสรีเพื่อนำไปขายแก่ผู้ต้องการใช้ทาส กฎหมายฉบับนี้แม้ถูกต่อต้านโดยบุคคลเพียงจำนวนน้อยในตอนแรก แต่ก็ได้นำไปสู่ขบวนการ “ทางรถไฟใต้ดิน” (Underground Railroad) ที่มีผู้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ทาสที่ได้รับอิสรภาพแล้วที่เดินทางมุ่งไปสู่ภาคเหนือของประเทศสหรัฐฯ.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและกฎหมายทาสที่หลบหนี · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

การยอมรับความต่างทางศาสนา

ทศกาลฮานาคาห์สัญลักษณ์ของศาสนายูดายที่อ๊อกซฟอร์ด การยอมรับความต่างทางศาสนา (Religious toleration) คือภาวะของการยอมรับหรือการอนุญาตความเชื่อหรือการปฏิบัติของศาสนาอื่นที่แตกต่างไปจาศาสนาของตนเอง ในประเทศที่มีศาสนาประจำชาติ “การยอมรับ” หมายความว่ารัฐบาลอนุญาตการปฏิบัติสักการะของศาสนาหรือความเชื่อที่แตกต่างไปจากศาสนาประจำชาติ และไม่เบียดเบียนผู้ถือศาสนาอื่นเหล่านั้น หลักการนี้เป็นหลักการฝักฝ่ายซึ่งอาจจะยังคงตามมาด้วยการเลือกปฏิบัติทางศาสนา (การยอมรับความต่างทางศาสนาเพียงแต่หมายถึงการละเว้นจากการเบียดเบียนผู้ถือปฏิบัติศาสนาที่ต่างออกไปจากศาสนาประจำชาติ ซึ่งแตกต่างจากเสรีภาพทางศาสนา ซึ่งถือว่าทุกศาสนามีความเท่าเทียมกัน) การยอมรับในบางสถานการณ์เป็น “เอกสิทธิ์” ที่มอบให้โดยรัฐบาล (ที่อาจจะออกมาเป็นกฎหมายหรือใบอนุญาต) ไม่ถือว่าเป็น สิทธิ รัฐบาลมักจะยอมรับศาสนาบางศาสนาเท่านั้น และไม่ยอมรับศาสนาบางศาสนาหรือลัทธิ การยอมรับความต่างทางศาสนาในรูปแบบของการปฏิบัติของรัฐบาลมิได้เกิดขึ้นอย่างชัดแจ้งมาจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 ฉะนั้นจึงเป็นการยากที่จะใช้ในการกล่าวถึงหัวข้อเช่นการไล่ทำร้ายและสังหารคริสเตียนในจักรวรรดิโรมันเป็นต้น ในประวัติศาสตร์การยอมรับความต่างทางศาสนาเป็นประเด็นที่มักจะสร้างข้อขัดแย้งภายในศาสนาเอง และ ระหว่างศาสนาต่างๆ ปัญหามิได้เพียงอยู่ที่การอนุญาตหรือไม่อนุญาตศาสนาที่ต่างออกไป แต่ผู้เป็นประมุขจะเป็นผู้ที่ยอมรับให้ผู้อยู่ในการปกครองนับถือที่ต่างออกไปได้ด้วย ในยุคกลางการยอมรับผู้ถือศาสนายูดายเป็นหัวข้อที่สร้างความขัดแย้งโดยทั่วไปในคริสต์ศาสนจักร ในปัจจุบันประเด็นสำคัญคือการยอมรับผู้ถือศาสนาคริสต์ในประเทศอิสลาม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและการยอมรับความต่างทางศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การยับยั้ง

การยับยั้ง (veto) เป็นอำนาจฝ่ายเดียวที่จะห้ามการปฏิบัติราชการอย่างใด ๆ โดยเฉพาะการตรากฎหมาย อาจเป็นอำนาจสิทธิ์ขาด เช่น ในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ สมาชิกประจำ คือ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา มีอำนาจยับยั้งข้อมติใด ๆ ได้โดยสิ้นเชิง หรืออาจเป็นอำนาจจำกัด เช่น ในกระบวนการตรากฎหมายของสหรัฐอเมริกา เมื่อประธานาธิบดียับยั้งร่างกฎหมาย อย่างน้อยสองในสามของสมาชิกทั้งหมดแห่งสภาทั้งสองสามารถลงมติกลับการยับยั้งนั้นได้ อำนาจยับยั้งเป็นอำนาจที่จะห้าม ไม่ใช่ที่จะรับ เพื่อให้ผู้มีอำนาจนี้สามารถรักษาสถานะเดิม (status quo) ของสิ่งนั้น ๆ ได้ แนวคิดเรื่องการยับยั้งนี้มีขึ้นในกงสุลโรมัน (Roman consul) และทรีบูน (tribune) องค์กรทั้งสองสามารถระงับคำวินิจฉัยทางทหารหรือพลเรือนของกันและกันได้ และทรีบูนยังมีอำนาจฝ่ายเดียวที่จะระงับร่างกฎหมายที่วุฒิสภาโรมันอนุมัติแล้วด้วย คำ "veto" ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาละติน แปลว่า "ข้าสั่งห้าม" (I forbid).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและการยับยั้ง · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขารัชมอร์

รูปสลักอดีตประธานาธิบดีทั้งสี่ จากซ้ายไปขวา จอร์จ วอชิงตัน, โทมัส เจฟเฟอร์สัน, ทีโอดอร์ รูสเวล และ อับราฮัม ลินคอล์น ซึ่งอยู่ในช่วง 130 ปีแรกของประวัติศาสตร์สหรัฐฯ อนุสรณ์สถานแห่งชาติเขารัชมอร์ (The Mount Rushmore National Memorial) เป็นประติมากรรมแกะสลักบนหน้าผาของภูเขาหินแกรนิต ชื่อเขารัชมอร์ (ชื่อในภาษาลาโกต้า ซู แปลว่า: ปู่หกคน) ใกล้เมื่องคีย์สโตน, รัฐเซาท์ดาโกต้า, ประเทศสหรัฐอเมริกา แกะสลักโดยชาวเดนมาร์ก-อเมริกันชื่อ Gutzon Borglum และลูกชายของเขาชื่อ ลินคอล์น Borglum ประติมากรรมเป็นใบหน้าของอดีตประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาสูง 60 ฟุต (18 เมตร) 4 ท่าน ได้แก่ จอร์จ วอชิงตัน (1732-1799), โทมัส เจฟเฟอร์สัน (1743-1826) ทีโอดอร์ รูสเวล (1858-1919) และ อับราฮัม ลินคอล์น (1809-1865).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและภูเขารัชมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์

รูกกิงส์ฮอลล์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์ (Washington University in St. Louis) นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า Wash U (วอช ยู) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 12,000 คน มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์มีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ โดยในปี 2549 คณะแพทยศาสตร์อยู่อันดับ 4 ในด้านงานวิจัย ตามการจัดอันดับของนิตยสารยูเอสนิว.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและมหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนต์หลุยส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย

อย่าสับสนกับ มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย (University of Virginia หรือเรียกย่อๆว่า UVA หรือ U.Va.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย โทมัส เจฟเฟอร์สัน ในเมืองชาร์ลอตส์วิลล์(Charlottesville) ในรัฐเวอร์จิเนีย ในปี พ.ศ. 2362 (ค.ศ. 1819) ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียมีนักศึกษาประมาณ 18,000 คน มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียมีชื่อเสียงในด้าน กฎหมาย สถาปัตยกรรมศาสตร์ ปรัชญา ดาราศาสตร์ นอกจากนี้ในตัวมหาวิทยาลัยยังถูกกำหนดให้เป็นมรดกโลกโดยองค์กรยูเนสโกอีกด้ว.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

มอนโรเวีย

มอนโรเวีย (Monrovia) เป็นเมืองหลวงของประเทศไลบีเรีย ซึ่งเป็นประเทศที่อยู่ทางแอฟริกาตะวันตก ตั้งอยู่ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณแหลมเมชูราโด เขตเมืองมีประชากรประชากร 1,010,970 คน ในเขตเกรเตอร์มอนโรเวีย จากการสำรวจประชากรในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและมอนโรเวีย · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ธา วอชิงตัน

มาร์ธา แดนดริด์จ คัสติส วอชิงตัน (2 มิถุนายน พ.ศ. 2274–22 พฤษภาคม พ.ศ. 2345) เป็นภริยาของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกา ถึงแม้ว่าเธอจะไม่มีตำแหน่งจนกระทั่งเสียชีวิต มาร์ธา วอชิงตันได้รับการพิจารณาให้เป็น สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกา คนแรก ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่เธอรู้จักกันในนาม "เลดี้ วอชิงตัน".

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและมาร์ธา วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสองสภา

ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและระบบสองสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐวอชิงตัน

รัฐวอชิงตัน (Washington) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในวอชิงตันมีธุรกิจชั้นนำของโลกหลายบริษัทได้แก่ โบอิง (ปัจจุบันย้ายไปที่ รัฐอิลลินอยส์) ไมโครซอฟท์ แอมะซอน.คอม นินเทนโดอเมริกา และเศรษฐกิจอื่นได้แก่ การท่องเที่ยว อิเล็กทรอนิกส์ การทำเหมืองแร่ ป่าไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ ถึงแม้ว่าชื่อจะคล้ายกัน วอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งเป็นเมืองหลวงของสหรัฐฯ อยู่ทางตะวันออกของประเทศ และไม่ได้อยู่ในรัฐวอชิงตัน ในภาพยนตร์เรื่อง Sleepless in seattle ก็สร้างในเมือง ซีแอตเติล รัฐวอชิงตัน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหรัฐ

รัฐสภาสหรัฐ (United States Congress) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ ที่ประกอบด้วย วุฒิสภา (Senate) และ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) สมาชิกของทั้งสองสภาได้รับเลือกจากประชาชนโดยตรง สมาชิก 435 คนของสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนจากเขตการปกครอง (district) และมีหน้าที่สองปี ผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งมาจากเขตการปกครองตามจำนวนประชากรที่ระบุไว้ในเขตการเลือกตั้งสหรัฐซึ่งเปลื่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ฉะนั้นทุกสองปีหนึ่งในสามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องได้รับเลือกตั้งใหม่ ส่วนสมาชิกวุฒิสภา 100 คนของวุฒิสภารับหน้าที่ครั้งละหกปี แต่ละมลรัฐมีสิทธิในการเลือกสมาชิกวุฒิสภาสองคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมีประชากรมากหรือน้อยเท่าใด รัฐธรรมนูญสหรัฐให้อำนาจในการออกกฎหมายแก่รัฐสภาทั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจเท่ากันในกระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายทุกฉบับที่นำมาปฏิบัติได้ต้องได้รับการอนุมัติจากทั้งสองสภา แต่รัฐธรรมนูญให้อำนาจพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์บางอย่างแก่ทั้งสองสภา เช่นวุฒิสภามีอำนาจในการอนุมัติสนธิสัญญา และ การแต่งตั้งตำแหน่งของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลที่เสนอโดยประธานาธิบดี แต่กฎหมายเกี่ยวกับการหารายได้เพิ่มเป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรที่จะเสนอ นอกจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรก็ยังมีอำนาจฟ้องขับเจ้าหน้าที่ชั้นสูงออกจากตำแหน่ง (impeachment) ขณะที่วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาฟ้องดังกล่าว ปัจจุบันเป็นสมัยประชุมที่ 115 เริ่มเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญสหรัฐ

รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ (United States Constitution) เป็นกฎหมายสูงสุดของสหรัฐอเมริกา เป็นกรอบการปฏิบัติสำหรับหน่วยงานของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ และกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่นของรัฐต่าง ๆ รวมถึงประชาชนทุกคนที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาด้วย สามมาตราแรกของรัฐธรรมูญตั้งกฎและการแบ่งแยกอำนาจเป็นสามส่วนของรัฐบาลกลาง ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภาแบบสองสภา ฝ่ายบริหารนำโดยประธานาธิบดี และฝ่ายตุลาการนำโดยศาลสูงสุด สี่มาตราสุดท้ายวางกรอบหลักระบอบสหพันธรัฐ รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1787 ในที่ประชุม ณ ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย และรับรองโดยการประชุมในรัฐต่าง ๆ ในนามของประชาชน โดยจนถึงปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐได้ถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข มาแล้ว 27 ครั้ง โดยสิบครั้งแรกเป็นที่รู้จักในนามของ รัฐบัญญัติสิทธิ (Bill of Rights) รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐจัดเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษณที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม หากรวมรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรเข้าไปด้วย รัฐธรรมนูญของกรุงซานมาริโน จะเก่าแก่กว่า รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐจัดเป็นหัวใจหลักของกฎหมายในสหรัฐอเมริกาและวัฒนธรรมทางการเมือง โดยต้นฉบับดั้งเดิม ที่เขียนโดยนายจาคอป ชาลัส ได้จัดแสดงไว้ที่ องค์การบริหารจดหมายเหตุและบันทึกแห่งชาติ (National Archives and Records Administration) ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี อ.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐธรรมนูญสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนอร์ทแคโรไลนา

รัฐนอร์ทแคโรไลนา เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐนอร์ทแคโรไลนา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเจอร์ซีย์

รัฐนิวเจอร์ซีย์ (New Jersey) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยอยู่ติดกับรัฐนิวยอร์ก ชื่อนิวเจอร์ซีย์มาจากชื่อของเกาะเจอร์ซีย์ บริเวณช่องแคบอังกฤษในยุโรป ชื่อเล่นของรัฐมีชื่อว่า "การ์เดนสเตต" (Garden State) ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ตั้งรกรากในนิวเจอร์ซีย์คือ ชาวสวีเดน และชาวเยอรมัน เมืองสำคัญในรัฐนิวเจอร์ซีย์ได้แก่ นูอาร์ก (น้วก) เจอร์ซีซิตี และ แอตแลนติกซิตี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ นิวยอร์ก ไจแอนต์, นิวยอร์ก เจ็ต, นิวเจอร์ซีย์ เน็ต, นิวเจอร์ซีย์ เดวิลส์ และ เมโทรสตารส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐนิวเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแมริแลนด์

รัฐแมริแลนด์ (Maryland) เป็นรัฐทางฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และอยู่ทางตอนใต้ของรัฐเพนซิลเวเนีย เมืองหลวงของรัฐคือ แอนแนโพลิส เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ บอลทิมอร์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยจอหนส์ฮอปกินส์ และ มหาวิทยาลัยแมริแลนด์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ บอลทิมอร์ โอเรี่ยลส์ (เบสบอล) และ บอลทิมอร์ เรเวนส์ (อเมริกันฟุตบอล) จุดสูงสุดในรัฐคือภูเขาแบ็กโบน และจุดต่ำสุดคือมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐแมริแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแมสซาชูเซตส์

รัฐแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts) เป็นรัฐหนึ่งในเขตนิวอิงแลนด์ ในสหรัฐอเมริกา มีมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ มหาวิทยาลัยทัฟส์ ประกอบไปด้วย 50 เมืองขนาดใหญ่ และ 301 เมืองขนาดเล็กใน 14 เคาน์ตี เมืองขนาดใหญ่ในรัฐได้แก่ บอสตัน สปริงฟิลด์ วูสเตอร์ โลเวลล์ บล็อกตัน และเคมบร.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโรดไอแลนด์

รัฐโรดไอแลนด์ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของประเทศ รัฐโรดไอแลนด์และนิคมพรอวิเดนซ์ (The State of Rhode Island and Providence Plantations) หรือรัฐโรดไอแลนด์ (Rhode Island) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศ ในเขตนิวอิงแลนด์ รัฐโรดไอแลนด์เป็น 1 ใน 13 รัฐเริ่มต้นก่อนการรวมตัวของรัฐอื่นในช่วงการปฏิวัติอเมริกา โรดไอแลนด์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐมหาสมุทร" (The Ocean State) โดยทุกส่วนในรัฐโรดไอแลนด์ห่างจากมหาสมุทรไม่เกิน 48 กม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐโรดไอแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเพนซิลเวเนีย

รัฐเพนซิลเวเนีย รัฐทางตอนกลาง ของสหรัฐอเมริกา เครือรัฐเพนซิลเวเนีย (Commonwealth of Pennsylvania) เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา รัฐเพนซิลเวเนียเป็นรัฐหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวข้องที่สุดรัฐหนึ่ง เป็นที่ประกาศอิสรภาพของอเมริกา โดยมีฟิลาเดลเฟียเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาก่อนการจัดตั้งวอชิงตัน ดีซี ชื่อของรัฐมาจากภาษาละติน ตั้งโดย เควกเกอร์ วิลเลียม เพนน์ เมืองหลวงของรัฐคือ แฮร์ริสเบิร์ก และเมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย และพิตส์เบิร์ก รวมไปถึงเมืองเฮอร์ชีย์ที่ตั้งของโรงงานชอกโกแลตเฮอร์ชีย์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์ก และ มหาวิทยาลัยลีไฮฮ์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย อีเกิลส์ และ พิตส์เบิร์ก สตีลเลอรส์ ในปี 2550 เพนซิลเวเนียมีประชากร 12,432,792 คน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเพนซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย

รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย (West Virginia) เป็นรัฐในเขตแอปพาเลเชีย ทางภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเวอร์จิเนียทางตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเคนทักกีทางตะวันตกเฉียงใต้ รัฐโอไฮโอทางตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐเพนซิลเวเนียทางเหนือ (ค่อนไปทางตะวันออก) และแมริแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีชาร์ลสตันเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียมีสถานะเป็นรัฐภายหลังจากที่ประชุมวีลลิง เมื่อปี ค.ศ. 1861 เมื่อผู้แทนจาก 50 เคาน์ตีทางเหนือของรัฐเวอร์จิเนียตัดสินใจแยกออกมาจากรัฐเวอร์จิเนียในช่วงสงครามกลางเมืองอเมริกา รัฐเวสต์เวอร์จิเนียเข้าร่วมสหพันธ์เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1861 และกลายเป็นรัฐชายแดนที่สำคัญในช่วงสงครามกลางเมือง ทั้งนี้ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียเป็นเพียงรัฐเดียวของสหรัฐอเมริกาที่มีสถานะเป็นรัฐจากการแยกตัวออกมาจากสมาพันธรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในสองรัฐที่ตั้งขึ้นมาในระหว่างสงครามกลางเมือง (อีกรัฐหนึ่งคือรัฐเนวาดาที่แยกออกมาจากดินแดนยูทาห์ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียเป็นที่ขึ้นชื่อทางด้านภูเขาและเนินเขา อุตสาหกรรมป่าไม้และเหมืองถ่านหินที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ทางการเมืองและแรงงาน รัฐนี้มีอาณาบริเวณคาสต์ที่หนาแน่นที่สุดในโลก ทำให้รัฐนี้เป็นพื้นที่สำคัญสำหรับการท่องถ้ำและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ด้วยภูมิประเทศแบบคาสต์ในบริเวณนี้ ส่งผลให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ปลาเทราท.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์มอนต์

รัฐเวอร์มอนต์ (Vermont) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ อยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ ในอดีตรัฐเวอร์มอนต์เป็นที่อยู่อาศัยของอินเดียนแดงเผ่าอิโรควอยส์ เผ่าอัลกอนเควียน และเผ่าอเบนากิ โดยทางฝรั่งเศสได้ยึดครองมาในช่วงตั้งรกรากในสหรัฐอเมริกา และได้เสียให้กับอังกฤษในช่วงสงครามในเวลาต่อมา รัฐเวอร์มอนต์มีชื่อเสียงในด้านของวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งรวมถึง สกีรีสอร์ตที่สำคัญหลายแห่ง เวอร์มอนต์ยังคงมีชื่อเสียงในด้านผลิตภัณฑ์จากวัวและเมเปิลไซรัป เมืองหลวงของรัฐคือ มอนต์เพเลียร์ และเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ เบอร์ลิงตัน ในปี 2550 เวอร์มอนต์มีประชากร 621,254 คน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเวอร์มอนต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเทนเนสซี

รัฐเทนเนสซี (Tennessee) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกา ชื่อของรัฐเทนเนสซีถูกบันทึกครั้งแรกโดยฮวน ปาร์โด นักสำรวจชาวสเปน ภายใต้ชื่อ "Tanasqui" ในปี พ.ศ. 2110 (ค.ศ. 1567) เมืองสำคัญในรัฐเทนเนสซีได้แก่ แนชวิลล์เมืองหลวงของรัฐเทนเนสซี เมมฟิสบ้านเกิดของเอลวิส เพรสลีย์ และเมืองนอกซ์วิลล์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ เมมฟิส กริซลีส์ และ เทนเนสซี ไททันส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยเทนเนสซี รัฐเทนเนสซี ได้ชื่อว่าเป็นรัฐแห่งเพลงคันทรีโดยจะมีการประกวดแข่งขันเพลงคันทรีทุกปีในเมืองแนชวิลล.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเทนเนสซี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคนทักกี

รัฐเคนทักกี (Kentucky) เป็นรัฐทางฟากตะวันออกของสหรัฐอเมริกา เมืองหลวงของรัฐคือ แฟรงก์เฟิร์ต และเมืองสำคัญในรัฐคือ หลุยส์วิลล์ และเล็กซิงตัน รัฐเคนทักกีเป็นที่รู้จักในด้านการแข่งม้าเคนทักกีเดอร์บี เหล้าเบอร์บอนที่มีต้นกำเนิดจากเคนทักกี และดนตรีบลูแกรส ผู้ว่ารัฐคนปัจจุบันคือ hambreak.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเคนทักกี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเซาท์แคโรไลนา

ซาท์แคโรไลนา (South Carolina) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐตั้งตั้งตามชื่อของ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ของอังกฤษ โดยคำว่า กาโรลุส (Carolus) เป็นภาษาละตินของคำว่า ชาลส์ (Charles) ประชากรในรัฐมี 4,198,068 (ข้อมูล พ.ศ. 2547) เมืองหลวงของรัฐ ชื่อ โคลัมเบีย และเมืองสำคัญอื่นคือ ชาร์ลสตัน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรัฐเซาท์แคโรไลนา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ทำเนียบขาวเป็นสถานที่ทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นตำแหน่งประมุขในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าของทุกสาขาของรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ โดยมีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เขียนโดยสภาคองเกรสมาตราที่ 2 ของรัฐธรรมนูญนั้นบัญญัติว่า ประธานาธิบดีต้องเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังทหาร และกระจายอำนาจที่เป็นของประธานาธิบดีออกไป รวมไปถึงอำนาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมาย ที่ผ่านมาจากสภาคองเกรส นอกจากนั้น ประธานาธิบดียังมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นที่ปรึกษาและอำนาจในการลดโทษหรือให้รอลงอาญาได้ ท้ายที่สุดแล้ว หากประธานาธิบดีได้รับคำแนะนำและการยอมรับจากวุฒิสภา แล้วจะมีอำนาจในการทำสนธิสัญญา, แต่งตั้งเอกอัครราชทูตและศาลตัดสินของประเทศ รวมไปถึงศาลสูงสุดด้วย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 กำหนดให้สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้ไม่เกินสองสมัย รายนามนี้รวมเฉพาะบุคคลที่ได้สาบานตนเป็นประธานาธิบดีตามการลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและรายนามประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและวอชิงตัน ดี.ซี. · ดูเพิ่มเติม »

วอลสตรีต

ริเวณถนนวอลสตรีต และด้านล่างเป็นโบสถ์ทรีนิตี วอลสตรีต (Wall Street) เป็นชื่อของถนนในเกาะแมนฮัตตัน วิ่งจากทิศตะวันออกจากถนนบรอดเวย์ไปถึงแม่น้ำฮัดสัน ถนนเส้นนี้เป็นถนนเก่าแก่เส้นหนึ่งของเมือง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเงินของโลก และตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กเริ่มต้นตั้งอยู่บนถนนสายนี้ ตลาดหลักทรัพย์วอลสตรีต ศูนย์กลางทางการเงินของโลก คำว่า วอลสตรีต มักจะใช้ในความหมายที่หมายถึง ตลาดหลักทรัพย์ ถึงแม้ว่าบริษัทหลักทรัพย์ต่าง ๆ ในนครนิวยอร์กไม่ได้ตั้งอยู่บนถนนวอลล์สตรีทเหมือนในอดีต โดย เจพีมอร์แกน เชส (JPMorgan Chase) บริษัทหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกา ย้ายสำนักงานใหญ่ออกจากบริเวณนี้เมื่อ พฤศจิกายน ค.ศ. 2001 บริเวณวอลล์สตรีทจะมีรูปปั้น กระทิง (bull) ตั้งอยู่ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่หมายถึง เศรษฐกิจดี ส่วนหมี (bear) จะหมายถึงเศรษฐกิจไม่ดี.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและวอลสตรีต · ดูเพิ่มเติม »

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สัตยาบัน

ำสำคัญ "สัตยาบัน" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและสัตยาบัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและสงครามปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดรัฐสภา

หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดรัฐสภา (Library of congress) สถาบันด้านวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกาและเป็นหอสมุดแห่งชาติ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและหอสมุดรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม ลินคอล์น

อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เดือนมีนาคม..1861 จนกระทั่งถูกลอบสังหารเมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและอับราฮัม ลินคอล์น · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน

อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน (Alexander Hamilton) เกิดในวันที่ 11 มกราคม..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้บัญชาการทหาร

ผู้บัญชาการทหาร (Commander-in-chief) คือ ผู้ที่สามารถใช้อำนาจสูงสุดหรือกองกำลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้คือประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็นพลเรือนก็ได้ สำหรับในประเทศไทยมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ จอมทัพ ซึ่งเรียกว่า จอมทัพไทย โดยจอมทัพไทยไม่ใช่ยศทหาร ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คือ พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งเป็นทั้งประมุขและผู้นำทหารทั้งประเทศ ทรงดำรงพระยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอาก.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและผู้บัญชาการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แอดัมส์

อห์น แอดัมส์ (John Adams) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นบิดาของประธานาธิบดีคนที่ 6 ของสหรัฐอเมริกา จอห์น ควินซี แอดัมส์ จอห์นเกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและจอห์น แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ีโอดอร์ รูสเวลต์ ธีโอดอร์ รูสเวลต์ (Theodore Roosevelt) (27 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 6 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา ผู้คนนิยมเรียกเขาว่า เท็ดดี้ ซึ่งรูสเวลต์นั้นคือแรงบรรดาลใจให้ก่อให้เกิดตุ๊กตาหมีในตำนานอย่าง หมีเท็ดดี้ ซึ่งหลายๆคนรู้จักดี แต่ในด้านการบริหารประเทศ รูสเวลต์ก็ไม่ได้น้อยหน้าใคร เขาได้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี และใบหน้าของเขาก็ได้ถูกสลักไว้ในอนุสรณ์สถานแห่งชาติเมานต์รัชมอร์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เขาหรือรูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สำคัญเขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ. 1905 อีกด้ว.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและธีโอดอร์ โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทหาร

ทหารในประเทศเคนยา ทหาร หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่นๆ ในยามสงคราม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) (เกิดวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1743 - วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1826)The birth and death of Thomas Jefferson are given using the Gregorian calendar.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและทอมัส เจฟเฟอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี. โดยเป็นสถานที่พำนักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาทุกคนตั้งแต่ประธานาธิบดีจอห์น แอดัมส์ ในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและทำเนียบขาว · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ควอร์เตอร์

วอร์เตอร์ (quarter) เป็นคำภาษาอังกฤษที่มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศสคำว่า "4" (quatre) หรือ" "¼" (quartier) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและควอร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจูเลียน

ปฏิทินจูเลียน (Julian calendar; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นโดยกงสุลจูเลียส ซีซาร์ แห่งโรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่มอธิกวารทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน แรกเริ่มนั้นวันวสันตวิษุวัตตรงกับวันที่ 1 Martius (มีนาคม) จึงถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในปี 153 ก่อน..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและปฏิทินจูเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ปรอท

ปรอท (Mercury; Hydragyrum) เป็นธาตุเคมีสัญลักษณ์ Hg และเลขอะตอมเท่ากับ 80 รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ควิกซิลเวอร์ (quicksilver) และมีชื่อเดิมคือ ไฮดราเจอรัม (hydrargyrum) ปรอทเป็นโลหะหนักสีเงินในบล็อก-d เป็นธาตุโลหะชนิดเดียวที่เป็นของเหลวในที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ธาตุอื่นอีกธาตุหนึ่งที่เป็นของเหลวภายใต้สภาวะเช่นนี้คือ โบรมีน แม้ว่าโลหะอย่างซีเซียม แกลเลียม และรูบิเดียมจะละลายที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิห้อง ปรอทพบได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่พบในรูปซินนาบาร์ (เมอร์คิวริกซัลไฟด์) เมอร์คิวริกซัลไฟด์บริสุทธิ์เป็นผงสีแดงชาด ได้จากปฏิกิริยาของปรอท (เกิดจากรีดักชันจากซินนาบาร์) กับกำมะถัน หากสัมผัส สูดดมไอ หรือทานอาหารทะเลที่ปนเปื้อนปรอทที่ละลายน้ำ (เช่น เมอร์คิวริกคลอไรด์ หรือเมธิลเมอร์คิวรี) อาจเกิดเป็นพิษได้ ปรอทมักใช้ประโยชน์ในเทอร์โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ มาโนมิเตอร์ สฟิกโมมาโนมิเตอร์ โฟลตวาล์ว สวิตช์ปรอท ปรอทรีเลย์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และอุปกรณ์อื่น ๆ แม้ว่ายังมีประเด็นเรื่องพิษที่อาจทำให้เทอร์โมมิเตอร์และสฟิกโมมาโนมิเตอร์ไม่ถูกนำมาใช้อีก แต่จะใช้แอลกอฮอล์ หรือแก้วที่เติมกาลินสแตน หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเทอร์มิสเตอร์ หรืออินฟราเรดแทน เช่นเดียวกัน สฟิกโมมาโนมิเตอร์ถูกแทนด้วยเกจความดันเชิงกลและเกจรับความตึงอิเล็กทรอนิกส์ ปรอทยังคงมีใช้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และสารอะมัลกัมสำหรับอุดฟันในบางท้องที่ ปรอทนำมาใช้ผลิตแสงสว่าง กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านไอปรอทในหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์จะสร้างแสงอัลตราไวโอเลตคลื่นสั้น ก่อให้เกิดฟอสเฟอร์ ทำให้หลอดเรืองแสง และเกิดเป็นแสงสว่างขึ้นม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและปรอท · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาร์เบโดส

ร์เบโดส (Barbados) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้ว.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและประเทศบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไลบีเรีย

ลบีเรีย (Liberia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไลบีเรีย (Republic of Liberia) เป็นประเทศที่อยู่ในเขตแอฟริกาตะวันตก ติดกับประเทศเซียร์ราลีโอนทางด้านทิศตะวันตก ประเทศกินีทางด้านทิศเหนือ และประเทศโกตดิวัวร์ทางด้านทิศตะวันออก มีเมืองหลวงชื่อมันโรเวียปกครองโดยใช้ระบอบประชาธิปไตย จากการสำรวจประชากรในปี 2008 มีประชากรอยู่ 3,476,608 คน และมีพื้นที่ครอบคลุม 111,369 ตร.กม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและประเทศไลบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

นิวยอร์ก (แก้ความกำกวม)

นิวยอร์ก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและนิวยอร์ก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แฟรงกลิน เดลาโน โรสเวลต์ (อังกฤษ: Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังเป็นประธานาธิบดีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ. 2476-2488) และเป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับเลือกถึงสี่สมัย ก่อนการประกาศญัตติข้อที่ 22 ในปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโอไฮโอ

แม่น้ำโอไฮโอ (Ohio River) เป็นแม่น้ำสายย่อยของแม่น้ำมิสซิสซิปปีที่ใหญ่ที่สุดในแง่ปริมาณน้ำ ไหลไปทางทิศตะวันตกจากเมืองพิตต์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ไปยังเมืองไคโร รัฐอิลลินอยส์ แม่น้ำมีความยาว 981 ไมล์ (1,579 กม.) ไหลผ่านเขตแดนของหกรั.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและแม่น้ำโอไฮโอ · ดูเพิ่มเติม »

แคริบเบียน

แคริเบียน (The Caribbean) เป็นกลุ่มประเทศและหมู่เกาะต่างในเขตทะเลแคริเบียนซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเม็กซิโก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวเนซูเอลา มีรัฐอยู่ราวๆ 25 รัฐซึ่งรวมรัฐอิสระและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (dependencies).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรคฝีดาษ

ฝีดาษตามลำตัวของผู้ป่วย การระบาดของฝีดาษในยุโรป การติดเชื้อฝีดาษของชาวอเมริกันอินเดียนจากชาวยุโรป ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ หรือ ไข้หัว (Smallpox) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก small poxvirus (Variolar) มีลักษณะเฉพาะคือมีผื่นขึ้นตามตัว และมีอาการทั่วไปรุนแรง โรคนี้ระบาดในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถานและเอธิโอเปียเมื่อปี พ.ศ. 2519 สำหรับประเทศไทยมีการบันทึกไว้ว่าระบาดครั้งสุดท้ายปี พ.ศ. 2504 องค์การอนามัยโลกได้เลิกฉีดวัคซีนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและโรคฝีดาษ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต อี. ลี

รเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี โรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี (Robert Edward Lee) (19 มกราคม ค.ศ. 1807 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1870) เป็นนายพลที่มีชื่อเสียงโด่งดังคนหนึ่งของอเมริกา เขามีบทบาทสำคัญมากในสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน และ สงครามกลางเมืองอเมริกา โดยนายพลลีได้สละหน้าที่การงานของเขาในสหรัฐอเมริกา เพื่อกลับมาร่วมสู้กับบ้านเกิดที่เวอร์จิเนีย ซึ่งอยู่ฝ่ายสมาพันธรัฐอเมริกา เขาสามารถนำชัยชนะมาสู่ฝ่ายใต้ของเขานับไม่ถ้วน ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายใต้มีแสนยานุภาพในหลาย ๆ ด้านด้อยกว่าฝ่ายเหนือมากก็ตาม แต่ถึงแม้นายพลลีจะเก่งกาจปานใด เขาก็ต้องฝ่ายแพ้ฝ่ายเหนือในยุทธการเกตตีสเบิร์ก นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของฝ่ายใต้ในที.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและโรเบิร์ต อี. ลี · ดูเพิ่มเติม »

เมานต์เวอร์นอน

right เมานต์เวอร์นอน (Mount Vernon) ตั้งอยู่ในรัฐเวอร์จิเนีย เป็นบ้านและที่ฝังศพของจอร์จ วอชิงตัน ในช่วงปี..

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและเมานต์เวอร์นอน · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาบลูริดจ์

เทือกเขาบลูริดจ์ เทือกบลูริดจ์ (Blue Ridge Mountains) เทือกเขาบลูริดจ์เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาแอปพาเลเชียนอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอเมริกา ที่ทอดตัวยาวกว่า 1050 กิโลเมตร โดยเริ่มต้นจากตอนใต้ของรัฐเพนซิลเวเนียผ่านแมริแลนด์ เวอร์จิเนีย และนอร์ทแคโรไลนา ไปสุดที่รัฐจอร์เจีย ซึ่งบริเวณแนวเขาเป็นป่าและมีอุทยานแห่งชาติหลายแห่งตั้งอยู่ บลูริดจ์ หมวดหมู่:ภูเขาในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและเทือกเขาบลูริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมบริดจ์ (รัฐแมสซาชูเซตส์)

มบริดจ์ (Cambridge) เป็นเมืองในรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสำคัญคือ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ มีจำนวนประชากร 105,162 คน ในปี พ.ศ. 2553 เคมบริดจ์ก่อตั้งโดยกลุ่มพิวริตัน ชื่อเมืองตั้งตามเมืองเคมบริดจ์ ในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและเคมบริดจ์ (รัฐแมสซาชูเซตส์) · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและ22 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและ30 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จอร์จ วอชิงตันและ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

George Washingtonยอร์ช วอชิงตัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »