โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จอภาพและโฟลเดอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จอภาพและโฟลเดอร์

จอภาพ vs. โฟลเดอร์

การวัดระดับพิกเซล บนจอภาพที่จัดเรียงพิกเซลต่างกัน ประสิทธิภาพของจอภาพสามารถวัดได้จากหลายปัจจัยดังนี้ * ความส่องสว่าง วัดในหน่วยแคนเดลาต่อตารางเมตร * ขนาดของจอภาพ วัดความยาวตามแนวทแยง สำหรับหลอดภาพ บริเวณที่เห็นภาพมักจะเล็กกว่าขนาดของหลอดภาพอยู่หนึ่งนิ้ว * อัตราส่วนลักษณะ คืออัตราส่วนของพิกเซลในแนวนอนต่อแนวตั้ง อัตราส่วนปกติคือ 4:3 เช่นจอภาพที่กว้าง 1024 พิกเซล จะสูง 768 พิกเซล ถ้าเป็นจอภาพไวด์สกรีน จะมีอัตราส่วนเป็น 16:9 ดังนั้นจอภาพที่กว้าง 1024 พิกเซล จะสูง 576 พิกเซล * ความละเอียดจอภาพ คือจำนวนพิกเซลตามความกว้างและความสูงที่สามารถแสดงผลได้ (ไม่ได้หมายถึงพิกเซลที่กำลังแสดงผลภาพอยู่ในปัจจุบัน) ความละเอียดที่มากที่สุดถูกจำกัดโดยระดับพิกเซล (ดูถัดไป) * ระดับพิกเซล คือระยะระหว่างพิกเซลสีเดียวกันในหน่วยมิลลิเมตร หากระดับพิกเซลน้อยลง ภาพจะมีความคมชัดมากขึ้น * อัตรารีเฟรช คือจำนวนครั้งในหนึ่งวินาทีที่ภาพนั้นถูกฉายลงบนหน้าจอ อัตรารีเฟรชที่มากที่สุดถูกจำกัดโดยเวลาตอบสนอง (ดูถัดไป) * เวลาตอบสนอง คือเวลาที่ใช้ไปขณะพิกเซลเปลี่ยนจากสีดำไปเป็นสีขาว และกลับมาเป็นสีดำอีกครั้ง วัดในหน่วยมิลลิวินาที ค่าที่น้อยลงหมายความว่าจอสามารถเปลี่ยนภาพได้เร็วขึ้น และหลงเหลือภาพก่อนหน้าน้อยกว่า * อัตราส่วนความแตกต่าง คืออัตราส่วนความส่องสว่างของสีที่สว่างที่สุด (สีขาว) ต่อสีที่มืดที่สุด (สีดำ) ที่จอภาพนั้นสามารถสร้างได้ * การใช้พลังงาน วัดในหน่วยวัตต์ * มุมในการมอง คือมุมที่มากที่สุดที่หันเหหน้าจอออกไปแล้วยังสามารถมองเห็นได้ โดยภาพที่ปรากฏยังไม่ลดคุณภาพ เช่นสีเพี้ยนเป็นต้น Monotor Technology จอภาพทำงานโดยการแสดงภาพ ซึ่งอาจเป็นภาพกราฟิกหรือตัวอักษร ซึ่งเกิดจากการประมวลผลของการ์ดวีจีเอ (VGA Card) จอภาพแบ่งเป็น 2 ประเภท คือจอภาพสีเดียวหรือจอภาพโมโนโครม (Monochrome) และจอสี (Color Monitor) ปัจจุบันจอภาพสีเดียวนั้นไม่เป็นที่นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ หากจะมีใช้ก็เฉพาะงานเฉพาะอย่างเท่านั้น ส่วนที่นิยมใช้ก็คือจอสี โดยแบ่งได้อีกเป็น 3 ประเภท คือจอสีวีจีเอ (VGA. ตัวอย่างไอคอนของโฟลเดอร์ในเคดีอี ในคอมพิวเตอร์ โฟลเดอร์ (folder) เป็นแฟ้มข้อมูลจำลองที่เอาไว้บรรจุไฟล์คอมพิวเตอร์ ปรากฏให้เห็นเป็นสัญลักษณ์รูปแฟ้มในระบบปฏิบัติการที่มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ นอกจากในโฟลเดอร์จะใช้เก็บไฟล์ได้แล้ว ยังสามารถใช้เก็บโฟลเดอร์ด้วยกันเองได้อีกด้วย โฟลเดอร์มีชื่อเรียกอีกมากมายเช่น แคตตาล็อก (catalog) ซึ่งใช้เรียกในคอมพิวเตอร์แอปเปิล 2 และคอมพิวเตอร์คอมโมดอร์ 128 หรือ ลิ้นชัก (drawer) เป็นต้น การเรียกใช้คำสั่งแสดงไดเร็กทอรี (dir) บนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ไดเร็กทอรี เป็นชื่อเรียกของโฟลเดอร์เมื่อกล่าวถึงเรื่องเกี่ยวกับระบบไฟล์ และปรากฏคำนี้มาก่อนหน้าโฟลเดอร์มาเป็นเวลานานตั้งแต่สมัยที่คอมพิวเตอร์ยังไม่มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ อันที่จริงแล้ว โฟลเดอร์เกิดขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและจัดการกับไดเร็กทอรีได้อย่างสะดวก ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์สามารถเรียกคำว่าโฟลเดอร์กับไดเร็กทอรี ได้ในความหมายเดียวกัน เมื่อมองโครงสร้างระดับขั้นของระบบไฟล์แล้ว ไฟล์จะถูกเก็บภายในไดเร็กทอรีใด ๆ เสมอ และไดเร็กทอรีก็จะถูกเก็บอยู่ในไดเร็กทอรีขั้นที่เหนือกว่าไปเรื่อย ๆ ซึ่งรูปร่างของโครงสร้างนี้ก็คือโครงสร้างต้นไม้ คำว่าพ่อ (parent) และลูก (child) ซึ่งเป็นศัพท์ที่มาจากการอธิบายโครงสร้างต้นไม้จึงมักนำมาใช้ในการระบุความสัมพันธ์ระหว่างไดเร็กทอรีหนึ่ง กับไดเร็กทอรีย่อย (dubdirectory) ของมัน นอกจากนี้ จะมีไดเร็กทอรีพิเศษอยู่ไดเร็กทอรีหนึ่งซึ่งไม่มีไดเร็กทอรีขึ้นที่เหนือกว่า เรียกว่าไดเร็กทอรีราก (root directory) ซึ่งก็เทียบเคียงกับราก (root) ในโครงสร้างต้นไม้นั่นเอง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จอภาพและโฟลเดอร์

จอภาพและโฟลเดอร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จอภาพและโฟลเดอร์

จอภาพ มี 23 ความสัมพันธ์ขณะที่ โฟลเดอร์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (23 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จอภาพและโฟลเดอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »