โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จระเข้น้ำเค็มและสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จระเข้น้ำเค็มและสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์

จระเข้น้ำเค็ม vs. สิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์

ระเข้น้ำเค็ม หรือ จระเข้น้ำกร่อย หรือ ไอ้เคี่ยม หรือ จระเข้ทองหลาง(Saltwater crocodile, Estuarine crocodile) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Crocodylidae เป็นจระเข้ 1 ใน 3 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 2 ชนิด คือ จระเข้น้ำจืดและตะโขง) มีลักษณะทั่วไปคล้ายจระเข้น้ำจืด จุดที่แตกต่างกันคือ ขาคู่หลังมีลักษณะแข็งแรงกว่าขาคู่หน้าและมีเพียง 4 นิ้วมีพังผืดระหว่างนิ้วตีนมากกว่าจระเข้น้ำจืด จะงอยปากยาวและส่วนปลายค่อนข้างแหลม มีฟันประมาณ 60 ซี่ ลักษณะแตกต่างจากจระเข้น้ำจืดคือไม่มีเกล็ด 4 เกล็ดที่ท้ายทอย ปากยาวกว่าจระเข้น้ำจืดอย่างเห็นได้ชัด มีสันเล็ก ๆ ยื่นจากลูกตาไปตามความยาวของส่วนหัวจนถึงตำแหน่งของปุ่มจมูก หรือที่เรียกว่าก้อนขี้หมา สีลำตัวออกเหลืองอ่อนหรือสีขาว และมีการเรียงตัวที่ส่วนหาง ดูคล้ายตาหมากรุก ตัวผู้มีความยาวหางยาวกว่าตัวเมีย แต่ลำตัวของตัวผู้ผอมเพรียวกว่าแต่โดยรวมแล้วขนาดลำตัวของตัวเมียจะเล็กกว่าเมื่อเทียบกันตัวต่อตัว และระยะห่างของโหนกหลังตาจะกว้างกว่าหัวของตัวผู้ดูป้อมสั้น ตัวเมียจะดูหัวยาวเรียว จระเข้น้ำเค็มจัดว่าเป็นสายพันธุ์จระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มที่ได้ถึง 4-5 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศออสเตรเลียทางตอนเหนือ บริเวณนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี มักอาศัยอยู่ในป่าโกงกางหรือป่าชายเลนในที่ที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม ตัวผู้จะถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 16 ปี ตัวเมียอายุ 10 ปี แต่จะให้ไข่ที่สมบูรณ์เมื่ออายุ 12 ปี มีขนาดยาว 2.2 เมตร มีการผสมพันธุ์ในฤดูร้อนและวางไข่ในฤดูฝน ครั้งละ 25-90 ฟอง การวางไข่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที ใช้ระยะเวลาในการฟักไข่ประมาณ 80 วัน ขนาดของไข่จระเข้น้ำเค็มจะใหญ่กว่าจระเข้น้ำจืดเล็กน้อย มีน้ำหนักประมาณ 110-120 กรัม จระเข้น้ำเค็มมีอุปนิสัยดุร้ายมาก สามารถโจมตีสัตว์ที่โดยปกติไม่ใช่อาหารได้ เช่น มนุษย์ เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบางถิ่นของออสเตรเลียที่ขึ้นชื่ออย่างยิ่งในเรื่องการโจมตีมนุษย์ของจระเข้น้ำเค็ม อีกทั้งมีการกัดของกรามได้อย่างรุนแรงมากที่สุดในโลก โดยมีแรงมากถึง 1,700 ปอนด์ และสามารถกระโดดงับเหยื่อได้ ซึ่งไม่น่าเป็นไปได้ในสัตว์เลื้อยคลายขนาดใหญ่เช่นนี้ จนกระทั่งมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า "Man Eater" ซึ่งในสวนสัตว์บางแห่งได้ใช้ความสามารถพิเศษอันนี้หลอกล่อให้จระเข้กระโดดงับเหยื่อที่แขวนล่อไว้เพื่อแสดงแก่ผู้ที่มาเยี่ยมชม ในทางอุตสาหกรรม หนังของจระเข้น้ำเค็มมีคุณสมบัติเหมาะสมในการทำเครื่องหนังมากกว่าจระเข้น้ำจืด เพราะมีหนังที่เหนียวทนทานกว่า จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจ แต่ทว่าด้วยความที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการจระเข้จะโตและให้ผลผลิตที่ดีได้ จึงนิยมผสมข้ามสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นเพื่อให้ได้จระเข้ลูกผสมที่จะให้ผลผลิตที่เร็วกว. งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ (Least Concern หรือ LC) คือระดับที่จัดโดยสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติแก่สิ่งมีชีวิตที่เมื่อพิจารณาแล้วไม่อยู่ในประเภทใดใด ฉะนั้นสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้จึงถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่ยังไม่เข้าข่ายสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ (Threatened species) หรือในข่ายสิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ (Near Threatened) หรือ (ก่อน ค.ศ. 2001) สิ่งมีชีวิตที่จำเป็นต่อการอนุรักษ์ (Conservation Dependent) สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ก็ได้แก่ นกกระสาแดง, นกนางนวลแกลบหงอนใหญ่, เพนกวินจักรพรรดิ, แมวดาว, แมวน้ำลายพิณ และอื่นๆ สิ่งมีชีวิตจะจัดอยู่ในกลุ่ม “สิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์” ก็ต่อเมื่อได้รับการพิจารณาสถานะของจำนวนประชากรที่เปรียบเทียบกับโดยตรงหรือโดยทางอ้อมกับการกระจายของประชากร และ/หรือ สถานภาพของประชากร ตั้งแต่ปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จระเข้น้ำเค็มและสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์

จระเข้น้ำเค็มและสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จระเข้น้ำเค็มและสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์

จระเข้น้ำเค็ม มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ สิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (29 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จระเข้น้ำเค็มและสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »