โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2 vs. จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1

หมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2 (Second Epistle of Paul to the Thessalonians) เรียกโดยย่อว่าพระธรรมเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2 เป็นเอกสารฉบับที่ 14 ของคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ พระธรรมเล่มนี้แต่เดิมเป็นจดหมายฉบับที่สองซึ่งนักบุญเปาโลเขียนไปถึงคริสตจักรในเมืองเธสะโลนิกา เมื่อพิจารณาจากความคล้ายคลึงกันของเนื้อหาระหว่าง 1 เธสะโลนิกา และ 2 เธสะโลนิกา แล้ว จดหมายฉบับที่สองนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นหลังจากจดหมายฉบับแรกไม่นานนัก เป็นไปได้ว่าอาจจะภายในปีเดียวกัน หรือหลังจากนั้นหนึ่งปี ซึ่งก็จะเป็นปี.. หมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 (First Epistle to the Corinthians) เรียกโดยย่อว่าพระธรรม 1 โครินธ์ เป็นเอกสารฉบับที่ 7 ของคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ ทั้งจากบทแรกของพระธรรมเอง และจากผู้นำคริสตจักรในยุคแรกระบุตรงกันว่านักบุญเปาโลเป็นผู้เขียนพระธรรมเล่มนี้ เดิมเป็นจดหมายที่นักบุญเปาโลเขียนถึงคริสตจักรที่เพิ่งตั้งขึ้นใหม่ในเมืองโครินธ์ ซึ่งในตอนนั้นโครินธ์เป็นเมืองท่าศูนย์กลางการค้าขายที่เจริญ ตั้งอยู่ระหว่างอ่าวโครินธ์และอ่าวซาโรนิค จัดเป็นเมืองที่ร่ำรวยและรุ่งเรืองด้านวัตถุนิยม แต่เสื่อมโทรมด้านศีลธรรม และเป็นอยู่อย่างนั้นตลอดช่วงที่อาณาจักรโรมันรุ่งเรือง จดหมายฉบับนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นในช่วงปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเยซูพันธสัญญาใหม่คัมภีร์ไบเบิลเปาโลอัครทูต

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และพระเยซู · จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1และพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาใหม่

ันธสัญญาใหม่ หรือ พระคริสตธรรมใหม่ (Καινή Διαθήκη; New Testament) เป็นภาคที่สองของคัมภีร์ไบเบิล จากทั้งหมด 2 ภาค ประกอบด้วยหนังสือภาษากรีกทั้งสิ้น 27 เล่ม ทุกเล่มเขียนโดยนักบุญ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอัครทูตและนักบุญในช่วงเวลาเดียวกัน และทุกเล่มเขียนขึ้นหลังการตรึงพระเยซูที่กางเขน แม้ว่าพระเยซูจะไม่ได้ทรงเขียนด้วยพระองค์เอง แต่คริสต์ศาสนิกชนก็เชื่อว่าผู้เขียนได้เขียนขึ้นจากการดลใจและการทรงนำของพระเป็นเจ้าและพระเยซูผ่านทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ ส่วนชาวมุสลิมแม้จะนับถือพระเยซูเป็นนบีอีซา แต่ก็ไม่ยอมรับคัมภีร์ไบเบิลในปัจจุบันว่าเป็นพระวจนะของพระเจ้า เพราะนักวิชาการอิสลามเห็นว่าคัมภีร์นี้ถูกตัดเสริมแต่งและสังคายนากันหลายครั้ง.

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และพันธสัญญาใหม่ · จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1และพันธสัญญาใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

คัมภีร์ไบเบิลและจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2 · คัมภีร์ไบเบิลและจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เปาโลอัครทูต

นักบุญเปาโลอัครทูต (St.) หรือนักบุญเปาโลแห่งทาร์ซัส (St.; San Paolo di Tarso) หรือนักบุญเปาโล มาจาก ภาษากรีก “Šaʾul HaTarsi” หมายถึง “เซาโลแห่งทาร์ซัส” มาจาก “Σαουλ” “Saul” หรือ “Σαῦλος” “Saulos” หรือ “Παῦλος” “Paulos” เป็น “อัครทูตถึงชนต่างชาติ” (Apostle to the Gentiles) พร้อมกับนักบุญเปโตรและนักบุญยากอบผู้ชอบธรรม (James the Just), เป็นมิชชันนารีที่สำคัญที่สุดในศาสนาคริสต์ยุคแรก แต่ไม่เคยพบพระเยซูดังเช่นอัครทูตท่านอื่นๆ ไม่มีหลักฐานใดที่กล่าวว่านักบุญเปาโลเคยพบพระองค์ด้วยตนเองก่อนที่จะถูกตรึงกางเขนตามที่กล่าวใน “กิจการของอัครทูต” นักบุญเปาโลมานับถือศาสนาคริสต์ระหว่างที่เดินทางไป ดามัสกัส จากการที่ได้เห็นพระเยซูผู้ฟื้นคืนพระชนม.

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และเปาโลอัครทูต · จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1และเปาโลอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1

จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2 มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 44.44% = 4 / (5 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที่ 2และจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »