โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2347

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2347

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที vs. พ.ศ. 2347

งประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที (do justice and let the sky fall หรือ let justice be done though the heavens fall"Fiat justitia, ruat caelum"; 2009: Online.; fiat justitia ruat caelum, เฟอัตจูสติเทียรูอัตคีลุม \ˌfē-ˌät-yu̇s-ˈti-tē-ä ˌru̇-ˌät-ˈkī-ˌlu̇m\) เป็นภาษิตภาษาละตินทางกฎหมายซึ่งบ่งบอกถึงความเชื่อว่า ความยุติธรรมจักต้องมีอยู่ไม่ว่าในสถานการณ์รูปแบบใดก็ตาม โดยชาลส์ ซัมเมอร์ (Charles Summer) นักการเมืองผู้รณรงค์ให้เลิกทาสแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 กล่าวว่าภาษิตนี้ไม่ได้มีที่มาจากสมัยคลาสสิกแต่อย่างใด แม้จะเชื่อกันว่าเป็นคำของ ลูเชิส คาลเพอร์นิเอิส พิโซ ซีโซนิเนิส (Lucius Calpurnius Piso Caesoninus) รัฐบุรุษในสมัยโรมันโบราณผู้เป็นสสุระของจูเลียส ซีซาร์ ก็ตาม. ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2347

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2347 มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2267อิมมานูเอล คานต์12 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2267

ทธศักราช 2267 ใกล้เคียงกั.

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2267 · พ.ศ. 2267และพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

อิมมานูเอล คานต์

อิมมานูเอิล คานท์ อิมมานูเอล คานต์ (Immanuel Kant; 22 เมษายน ค.ศ. พ.ศ. 2267 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2347) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมัน จากแคว้นปรัสเซีย ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปว่า เป็นนักคิดที่มีอิทธิพลมากที่สุดของยุโรป และเป็นนักปรัชญาคนสำคัญคนสุดท้ายของยุคแสงสว่าง เขาสร้างผลกระทบที่สำคัญไปถึงนักปรัชญาสายโรแมนติกและสายจิตนิยม ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานของเขาเป็นจุดเริ่มของเฮเกล คานต์เป็นที่รู้จักเนื่องจากแนวคิดของเขา ที่เรียกว่าจิตนิยมอุตรวิสัย (transcendental idealism) ที่กล่าวว่ามนุษย์ใช้แนวคิดบางอย่างที่ติดตัวมาแต่กำเนิด (innate idea) ในการรับรู้ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวในโลก เรารับรู้โลกโดยผ่านทางประสาทสัมผัสประกอบกับมโนภาพที่ติดตัวมานี้ ดังนั้นเราจึงไม่สามารถล่วงรู้หรือเข้าใจใน "สรรพสิ่งที่แท้" ได้ ความรู้ต่อสรรพสิ่งที่เรามีนั้นจึงเป็นได้แค่เพียงภาพปรากฏ ที่เรารับรู้ได้ผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น ญาณวิทยา (epistemology) หรือทฤษฎีความรู้ของคานต์นั้น เกิดขึ้นเพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างปรัชญาสายเหตุผลนิยมที่กล่าวว่า ความรู้สามารถสร้างขึ้นได้ไม่จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์ กับปรัชญาสายประสบการณ์นิยมที่กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารู้มีที่มาจากประสบการณ์ คานต์ได้เชื่อมแนวคิดที่ขัดแย้งกันทั้งสอง ดังคำกล่าวที่เขาเองเปรียบเปรยว่าเป็นการปฏิวัติแบบโคเปอร์นิคัส (Copernical Revolution) โดยสรุปคร่าวๆ ได้เป็นประโยคขึ้นต้นของหนังสือ บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล (Critique of Pure Reason) ว่า "แม้ว่าความรู้ทั้งหมดที่เรามีจะมีจุดเริ่มต้นจากประสบการณ์ แต่นั่นมิได้หมายความว่าความรู้ทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นมาจากประสบการณ์" ใน Critique of Pure Reason ยังได้นำเสนอเนื้อหาของหลักทางศีลธรรม (จริยศาสตร์) ที่ยังคงมีอิทธิพลต่อแนวความคิดด้านจริยธรรมของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนอาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นบิดาแห่งแนวคิดเรื่องสหประชาชาติ ดังที่ปรากฏในความเรียงว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติความขัดแย้งและความโหดร้ายของสงคราม กระทั่งสันนิบาตชาติและตามด้วยสหประชาชาติได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน.

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและอิมมานูเอล คานต์ · พ.ศ. 2347และอิมมานูเอล คานต์ · ดูเพิ่มเติม »

12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

12 กุมภาพันธ์และจงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที · 12 กุมภาพันธ์และพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2347

จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามที มี 51 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2347 มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.75% = 3 / (51 + 29)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จงประสาทความยุติธรรม แม้ฟ้าจะถล่มก็ตามทีและพ.ศ. 2347 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »