โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

งูแบล็กแมมบาและภาวะหัวใจวาย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง งูแบล็กแมมบาและภาวะหัวใจวาย

งูแบล็กแมมบา vs. ภาวะหัวใจวาย

งูแบล็กแมมบา (Black mamba, Common black mamba, Black-mouthed mamba) งูพิษร้ายแรงมากชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dendroaspis polylepis อยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) พบกระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกา ในแถบตอนใต้และตอนกลาง งูแบล็กแมมบา มีรูปร่างเพรียวยาว มีลำตัวสีน้ำตาลเทา ท้องมีสีเทาขาวจนไปถึงสีเหลืองหรือเขียว เส้นขอบปากมีสีน้ำตาลดำ คอแบน ภายในปากสีดำสนิท มีต่อมพิษขนาดใหญ่ ตากลมโตขนาดใหญ่ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 2 เมตร แต่มีขนาดยาวเต็มที่เกือบ 4 เมตร งูแบล็กแมมบาเป็นงูที่มักไม่ขึ้นต้นไม้ แต่จะหากินและอาศัยบนพื้นเป็นหลัก เป็นงูที่เลื้อยคลานได้ไวมาก โดยสามารถเลื้อยได้ไวถึง 20 กิโลเมตร/ชั่วโมง จึงถูกจัดให้เป็นงูที่ไวที่สุดในโลก นอกจากนี้แล้ว งูแบล็กแมมบายังได้ถูกจัดให้เป็นงูที่อันตรายและเป็นงูพิษที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกา ด้วยความเป็นงูที่หากินบนพื้นเป็นหลัก คล่องแคล่วว่องไว อีกทั้งยังเป็นงูที่ไม่กลัวมนุษย์ มีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว เมื่อปะทะกับมนุษย์ซึ่ง ๆ หน้า จะไม่หลบหนีเหมือนงูชนิดอื่น ๆ โดยคำว่า "แมมบา" นั้น หมายถึง "โลงศพ" เนื่องจากมีส่วนหัวแลดูคล้ายโลงศพของชาวตะวันตก ซึ่งชื่อนี้มีนัยถึงถึง "ความตายที่มาเยือน" งูแบล็กแมมบา ใช้พิษในการหากินโดยใช้กัดเหยื่อให้ตาย แล้วจึงกลืนเข้าไปทั้งตัว ซึ่งได้แก่ กระต่าย, นก, ค้างคาว และสัตว์ฟันแทะ รวมถึงกบหรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำทั่วไป และยังกินงูด้วยกันเป็นอาหารได้อีกด้วย มีพฤติกรรมออกหากินในเวลากลางวัน พิษของงูแบล็กแมมบานั้นถือว่าร้ายแรงมาก ถูกจัดให้เป็นงูที่มีพิษอันตรายมากที่สุดติด 1 ใน 10 อันดับของโลก ก่อนหน้าที่จะมีการพัฒนาเซรุ่มแก้พิษนั้น ผู้ที่โดนกัดจะถึงแก่ความตายทั้งหมด โดยการกัดครั้งหนึ่งจะปล่อยพิษออกมาประมาณ 100-250 มิลลิกรัม มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลวในเวลาเพียง 20 นาที แต่โดยเฉลี่ยคือ 2-4 ชั่วโมง จากความล่าช้าของการรักษา งูแบล็กแมมบาสามารถที่จะฉกกัดได้อย่างว่องไว และสามารถขู่ แผ่แม่เบี้ย และชูหัวได้เหมือนกับงูเห่า (Naja spp.) หรืองูจงอาง (Ophiophagus hannah) ซึ่งอยู่ร่วมวงศ์กัน แม้จะไม่ใหญ่เท่า แต่ก็สามารถฉกและชูหัวได้สูงถึง 2 เมตร. วะหัวใจวาย หรือภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure (HF)) มักใช้หมายถึงภาวะหัวใจวายเรื้อรัง (chronic heart failure (CHF)) เกิดเมื่อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเพียงพอเพื่อคงการไหลของเลือดเพื่อสนองความต้องการของร่างกาย คำว่า โรคหัวใจเลือดคั่ง (Congestive heart failure (CHF) หรือ congestive cardiac failure (CCF)) มักใช้แทนคำว่า หัวใจวายเรื้อรัง ได้ อาการและอาการแสดงโดยทั่วไปมีหายใจกระชั้น เหนี่อยเกิน และขาบวม การหายใจกระชั้นมักเลวลงเมื่อออกกำลังกาย เมื่อนอนราบและเมื่อกลางคืนขณะหลับ มักมีข้อจำกัดปริมาณการออกกำลังกายที่ผู้ป่วยทำได้ แม้รักษาอย่างดีแล้ว สาเหตุทั่วไปของภาวะหัวใจวาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งรวมกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (อาการหัวใจล้ม) ก่อนหน้านี้, ความดันโลหิตสูง, หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว (atrial fibrillation), โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease), และโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyopathy) สาเหตุเหล่านี้ทำให้เกิดอาการหัวใจล้มโดยเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของหัวใจ มีอาการหัวใจล้มสองประเภทหลัก คือ อาการหัวใจล้มจากการทำหน้าที่ผิดปรกติของหัวใจห้องล่างซ้ายและอาการหัวใจล้มโดยมีเศษส่วนการสูบฉีดปกติแล้วแต่ว่าหัวใจห้องล่างซ้ายมีความสามารถหดตัวหรือไม่ หรือความสามารถคลายตัวของหัวใจ ปกติจัดลำดับความรุนแรงของโรคจากความสามารถการออกกำลังกายที่ลดลง ภาวะหัวใจวายมิใช่อย่างเดียวกับกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดหรือหัวใจหยุด (ซึ่งเลือดหยุดไหลทั้งหมด) ฦโรคอื่นซึ่งอาจมีอาการคล้ายกับภาวะหัวใจวาย เช่น โรคอ้วน ปัญหาไต ปัญหาตับ โลหิตจาง และโรคไทรอยด์ เป็นต้น การวินิจฉัยภาวะนี้อาศัยประวัติของอาการและการตรวจร่างกาย ยืนยันด้วยการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (echocardiography) การตรวจเลือด การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการฉายรังสีทรวงอกอาจมีประโยชน์เพื่อตัดสินสาเหตุเบื้องหลัง การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงและสาเหตุของโร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง งูแบล็กแมมบาและภาวะหัวใจวาย

งูแบล็กแมมบาและภาวะหัวใจวาย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง งูแบล็กแมมบาและภาวะหัวใจวาย

งูแบล็กแมมบา มี 31 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะหัวใจวาย มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (31 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง งูแบล็กแมมบาและภาวะหัวใจวาย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »