เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และแอนน์ แฮททาเวย์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และแอนน์ แฮททาเวย์

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79 vs. แอนน์ แฮททาเวย์

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี.. แอนน์ แจ็กเกอลีน แฮททาเวย์ (Anne Jacqueline Hathaway; เกิด 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เริ่มเข้าวงการโดยการแสดงในซีรีส์ชุด Get Real ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และแอนน์ แฮททาเวย์

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และแอนน์ แฮททาเวย์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฮอลลีวูดนางมารสวมปราด้า

ฮอลลีวูด

ป้ายฮอลลีวูด ฮอลลีวูด (Hollywood) เป็นชื่อเขตในนครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เหมือนกับเป็นถนนหรือเขตหนึ่งเท่านั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกถึงตะวันตกเฉียงเหนือของศูนย์กลางนครลอสแอนเจลิส เนื่องจากว่าฮอลลิวูดนั้นมีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นศูนย์กลางแห่งประวัติศาสตร์ของโรงถ่ายทำภาพยนตร์ และดาราภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ชื่อของฮอลลีวูดจึงมักจะถูกเรียกเป็นชื่อแทนของโรงภาพยนตร์แห่งสหรัฐอเมริกาอีกด้วย ทุกวันนี้มีอุตสาหกรรมภาพยนตร์จำนวนมากที่ได้แพร่กระจายไปรอบๆพื้นที่ของแคลิฟอร์เนียและทางตะวันตกของนครลอสแอนเจลิส แต่อุตสาหรรมภาพยนตร์หลักๆที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อ การใส่เทคนิคพิเศษ ผู้สนับสนุน การผลิตขั้นสุดท้าย และบริษัททางด้านแสงประกอบ ยังคงอยู่ในฮอลลีวูด โรงละครสำคัญๆทางประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูดหลายแห่งถูกใช้เป็นสถานที่ชุมนุมและเวทีคอนเสิร์ตในงานเปิดตัวสำคัญๆระดับยักษ์ใหญ่ของโลกและยังเป็นเจ้าภาพในการประกาศรางวัลออสการ์หรือที่เรียกกันติดปากว่ารางวัลออสการ์นั่นเอง ฮอลลีวูดเป็นสถานที่ที่คนทั่วโลกต้องการมาเยือนทั้งนักผจญราตรีและนักท่องเที่ยวทั้งหลาย และยังเป็นที่ตั้งของถนน ฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม (Hollywood Walk of Fame) ที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ฮอลลีวูด ค.ศ. 1885 โรงแรมฮอลลีวูด ค.ศ. 1905 ใน ค.ศ. 1853 กระท่อมอิฐหลังเล็กๆหลังหนึ่งได้กลายมาเป็นฮอลลีวูดในทุกวันนี้ ในราวปี ค.ศ. 1870 ชุมชนเกษตรกรรมได้เจริญขึ้นมาในพื้นที่แห่งนี้พร้อมๆกับผลผลิตที่เจริญงอกงามมากในช่วงนั้น ที่มาของชื่อฮอลลีวูด ที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดนั้นน่าจะมาจากชื่อของต้น Tyon ท้องถิ่นหรือเรียกกันว่า "แคลิฟอร์เนียฮอลลี่" ที่มีอย่างอุดมสมบูรณ์ปกคลุมเนินเขาในสมัยนั้นและยังออกผลเบอร์รี่สีแดงกระจายอยู่ทั่วไปในช่วงหน้าหนาวของทุกปีอีกด้วย จากนั้นความเชื่อนี้และความเชื่อในเรื่องของที่มาของคำว่าฮอลลี่นี้ก็มีคนเชื่อถือมากขึ้นเรื่อยๆแต่ยังไม่ได้รับการยืนยันว่าเป็นความจริงแต่อย่างใด บ้างก็ว่าชื่อของฮอลลีวูดนี้เป็นชื่อที่ตั้งโดย เอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ บิดาแห่งฮอลลีวูด ซึ่งทั้งเขาและกีกี้ ภรรยาของเขาได้ตั้งชื่อนี้ขึ้นขณะที่มาฮันนีมูนกัน ตามบันทึกของมากาเร็ต เวอร์จิเนีย ไวท์ลี่ย์ บ้างก็ว่ามาจาก ฮาร์วี่ย์ วิลคอกซ์ ที่ได้มาซื้อที่ดินในบริเวณนี้และก็พัฒนาเป็นชุมชุนขึ้นมา โดยดาเออิดา ภรรยาของเขาได้พบกับผู้หญิงคนหนึ่งบนรถไฟที่บอกว่าเธอได้ตั้งชื่อบ้านพักฤดูร้อนที่รัฐโอไฮโอว่า ฮอลลีวูด ดาเออิดาชอบชื่อนี้และก็เอามาตั้งเป็นชื่อของชุมชนที่ตั้งขึ้นมาใหม่นี้ คำว่าฮอลลีวูดนี้ได้ปรากฏเป็นครั้งแรกในแผนที่ของวิลคอกซ์สำหรับการแบ่งสรรพื้นที่และปรากฏในเอกสารของบันทึกเขตปกครองของวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1887 ตามคำพูดของจอร์แดน แมกซ์เวลล์นั้น ชื่อของฮอลลีวูดนั้นอ้างอิงมาจากไม้กายสิทธิ์ Druidic ซึ่งทั้งไม้กายสิทธิ์และอุตสาหกรรมภาพยนตร์ฮอลลีวูดนั้นเป็นเครื่องมือในการจัดการกับคน ราวปี ค.ศ. 1900 คณะบุคคลที่เรียกตัวเองว่า Cahuenga ได้จัดตั้งที่ทำการไปรษณีย์ หนังสือพิมพ์ โรงแรม และตลาดสองแห่งด้วยจำนวนประชากรเพียง 500 คน ซึ่งในขณะนั้น ลอสแอนเจลิสมีประชากรประมาณ 100,000 คนและมีเมืองที่ทอดผ่านสวนผลไม้รถส้มเป็นระยะทางกว่า 7 ไมล์ มีชื่อเส้นทางเดินรถเพียงชื่อเดียวจากใจกลางของ Prospent Avenue ที่พาดผ่านแต่มีการให้บริการไม่บ่อยนักและต้องใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง แต่บ้านสำหรับการบรรจุหีบห่อผลไม้รสส้มในสมัยก่อนนั้นอาจจะกลายเป็นจุดสำคัญที่นำความเจริญและการคมนาคมที่สะดวกสบายขึ้นมาสู่ผู้อยู่อาศัยในย่านฮอลลีวูด โรงแรมฮอลลีวูดอันเป็นโรงแรมใหญ่โรงแรมแรกของฮอลลีวูดที่มีชื่อเสียงนั้น เปิดบริการในปี ค.ศ. 1902 โดยเอช.เจ.ไวท์ลี่ย์ เพื่อขายเป็นที่พักอาศัยเป็นจำนวนมากท่ามกลางฟาร์มปศุสัตว์ ตั้งอยู่หน้า Prospect Avenue และด้านข้างฝั่งตะวันตกของ Highland Avenue ปี ค.ศ. 1903 ฮอลลีวูดรวมเป็นเทศบาลแห่งหนึ่ง และในปี ค.ศ. 1904 รถบรรทุกวิ่งจากลอสแอนเจลิสมายังฮอลลีวูดคันใหม่ก็เปิดให้ใช้บริการ ระบบนี้เรียกว่า Hollywood Boulevard ซึ่งช่วยร่นระยะเวลาการเดินทางไป-กลับลอสแอนเจลิสได้อย่างมาก ปี ค.ศ. 1910 มีการพยายามจะรักษาระดับการขายน้ำอย่างพอเพียง ชาวเมืองจึงโหวตให้ฮอลลีวูดผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนครลอสแอนเจลิส จึงทำให้ระบบชลประทานเพื่อการพัฒนาเมืองนั้นถูกเปิดเป็น Los Angeles Aqueduct และต่อน้ำทางท่อจากแม่น้ำโอเว่นในหุบเขาโอเว่น นอกจากนั้น การโหวตครั้งนี้ก็ยังมีเหตุผลมาจากกาารต้องการให้ฮอลลิวูดกลายเป็นทางระบายน้ำเสียของนครลอสแอนเจลิสอีกด้วย หลังจากรวมกับนครลอสแอนเจลิสแล้ว ชื่อ Prospect Avenue ก็เปลี่ยนมาเป็น Hollywood Boulevard รวมทั้งหมายเลขถนนในพื้นที่แห่งนี้ เช่น จาก 100 Prospect Avenue ที่ Vermont Avenue กลายเป็น 6400 Hollywood Boulevard และ 100 Cahuenga Boulevard ที่ Hollywood Bouvelard เป็น 1700 Cahuenga Boulevard เป็นต้น.

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และฮอลลีวูด · ฮอลลีวูดและแอนน์ แฮททาเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

นางมารสวมปราด้า

นางมารสวมปราด้า (The Devil Wears Prada) เป็นภาพยนตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ออกแพร่ภาพในปี พ.ศ. 2549 และถูกนำเข้ามาฉายในประเทศไทยในปีเดียวกัน ดัดแปลงมาจากบทประพันธ์ The Devil Wears Prada ของ ลอเรน ไวส์เบอร์เกอร์ ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้อ่านทั่วโลก จากเนื้อหาที่เปิดเผยเรื่องราวการทำงานในวงการแฟชั่น ชีวิตและปัญหาของคนหนุ่มสาวที่อยู่ในวงการนั้นๆ ตลอดจนมุมมองและแนวคิดอย่างคนใน ซึ่งคนทั่วๆ ไปอาจไม่เคยได้สัมผัส ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้มีการดัดแปลงเนื้อหาบางส่วน โดยใช้มุมมองและความคิดเห็นจากทั้งโปรดิวเซอร์ ผู้กำกับการแสดง รวมทั้งนักแสดงหลัก จึงมีความแตกต่างจากบทประพันธ์ดั้งเดิมอยู่ในบางจุด นอกจากนี้ จุดเด่นของนางมารสวมปราด้าในภาคภาพยนตร์ ยังอยู่ที่บรรดาเสื้อผ้า รองเท้า และเครื่องประดับที่ได้รับการสนับสนุนจากเหล่าดีไซน์เนอร์จากแบรนด์ชั้นนำทั่วโลก รวมถึงการปรากฏตัวเป็นนักแสดงรับเชิญในหลายๆ ส่วนของภาพยนตร์ ของผู้มีชื่อเสียงในวงการแฟชั่น เช่น วาเลนติโน่ การาวานี่, จีเซลล์ บุนด์เซล, ไฮดี้ คลุม หรือแม้แต่เจ้าของบทประพันธ์อย่าง ลอเรน ไวส์เบอร์เกอร์เอง.

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และนางมารสวมปราด้า · นางมารสวมปราด้าและแอนน์ แฮททาเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และแอนน์ แฮททาเวย์

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79 มี 66 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอนน์ แฮททาเวย์ มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.22% = 2 / (66 + 24)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 79และแอนน์ แฮททาเวย์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: