เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คู่กรรมและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คู่กรรมและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น

คู่กรรม vs. รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น

ู่กรรม เป็นนวนิยายแนวโศกนาฏกรรมและวีรคติ ประพันธ์โดย ทมยันตี ดำเนินเรื่องที่มีฉากหลังในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผู้ประพันธ์ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อราวปี.. ;3 ครั้ง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คู่กรรมและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น

คู่กรรมและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชลิต เฟื่องอารมย์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพูนสวัสดิ์ ธีมากรภูริ หิรัญพฤกษ์วรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์ศตวรรษ ดุลยวิจิตรสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7ประเทศไทยปัญญา นิรันดร์กุลนิรุตติ์ ศิริจรรยาเกรียงไกร อุณหะนันทน์

ชลิต เฟื่องอารมย์

ลิต เฟื่องอารมย์ (ชื่อเล่น: ตุ่ม) เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานการแสดงสร้างชื่ออย่าง ฉันผู้ชายนะยะ ซึ่งเป็นละครเวทีที่โด่งดังมาก ตระเวนเดินสายแสดงไปทั่วประเทศในยุคนั้น มีผลงานภาพยนตร์ ที่รับเป็นพระเอกอย่างเรื่อง อารมณ์ และ รักริษยา ส่วนผลงานละครในยุคปัจจุบัน เช่น นิมิตรมาร และ ความลับของซูเปอร์สตาร์ ทางด้านชีวิตส่วนตัว เป็นพี่ชายของนักร้อง ชรัส เฟื่องอารมย์ เคยมีผลงานเพลงดูโอร่วมกันในชุด ชรัส-ชลิต และ คนแปลกหน้า ในปี..

คู่กรรมและชลิต เฟื่องอารมย์ · ชลิต เฟื่องอารมย์และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

คู่กรรมและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

พูนสวัสดิ์ ธีมากร

ูนสวัสดิ์ ธีมากร (พ.ศ. 2471-พ.ศ. 2545) อดีตนักแสดงละครเวทีและภาพยนตร์ ที่มีความสามารถรอบด้าน นอกจากการแสดงแล้ว ยังเป็นผู้กำกับแสง ผู้กำกับภาพ ช่างถ่ายภาพ นักแสดงตั้งแต่ยุคละครเวทีคณะศิวารมย์ คณะอัศวินการละคร และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในฝีมือความสามารถระดับสากล.

คู่กรรมและพูนสวัสดิ์ ธีมากร · พูนสวัสดิ์ ธีมากรและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

ภูริ หิรัญพฤกษ์

ูริ หิรัญพฤกษ์ (6 มกราคม พ.ศ. 2521) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย ที่มีผลงานเด่นจากการรับบท "ที" ในละคร รักแปดพันเก้.

คู่กรรมและภูริ หิรัญพฤกษ์ · ภูริ หิรัญพฤกษ์และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

วรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์

วรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์ (ชื่อเล่น น็อต) เกิดเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2520 เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรชายคนสุดท้องของชลิต เฟื่องอารมย์ นักแสดงชาวไทย มีพี่สาวเป็นนักแสดงเช่นกันคือ แนน ชลิตา เฟื่องอารมณ์ ศึกษาระดับ ป.1- ม.3 จากโรงเรียนสาธิต มศว.

คู่กรรมและวรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์ · รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นและวรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศตวรรษ ดุลยวิจิตร

ตวรรษ ดุลยวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

คู่กรรมและศตวรรษ ดุลยวิจิตร · รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นและศตวรรษ ดุลยวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

คู่กรรมและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

คู่กรรมและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

คู่กรรมและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

คู่กรรมและประเทศไทย · ประเทศไทยและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา นิรันดร์กุล

ปัญญา นิรันดร์กุล เป็นพิธีกรและนักแสดงชาวไทย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง และประธานบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

คู่กรรมและปัญญา นิรันดร์กุล · ปัญญา นิรันดร์กุลและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

คู่กรรมและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อุณหะนันทน์

กรียงไกร อุณหะนันทน์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาท "ท่านชายพจน์" ในภาพยนตร์เรื่อง ปริศนา เมื่อปี พ.ศ. 2525.

คู่กรรมและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นและเกรียงไกร อุณหะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คู่กรรมและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น

คู่กรรม มี 115 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น มี 193 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 4.22% = 13 / (115 + 193)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คู่กรรมและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายดีเด่น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: