โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คุโระดะ โยะชิตะกะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คุโระดะ โยะชิตะกะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

คุโระดะ โยะชิตะกะ vs. โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ระดะ โยะชิตะกะ คุโระดะ โยะชิตะกะ หรือ คุโระดะ คัมเบ เป็นไดเมียวในยุคปลายเซ็งโงะกุจนถึงต้นยุคเอโดะและเป็นนักกลยุทธ์และที่ปรึกษาคนสำคัญของ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ เขาเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงในการที่มีความทะเยอทะยานอันยิ่งใหญ่ คุโรดะได้กลายมาเป็นชาวคริสต์เมื่อายุได้ 38 ปี และได้รับนามว่า ซิเมียน โจซุย เป็นนามที่รับมาจากพิธีจุ่มศีล คุโรดะ คัมเบ ยังได้รับการเคารพยกย่องจากนักรบของเขาในเรื่องของความเฉลียวฉลาดความกล้าหาญและความภักดี. ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คุโระดะ โยะชิตะกะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

คุโระดะ โยะชิตะกะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชูโงกุยุทธการที่เซะกิงะฮะระตระกูลโฮโจโมริ เทะรุโมะโตะโทกูงาวะ อิเอยาซุไดเมียวเกาะชิโกกุเกาะคีวชูเคียวโตะ

ชูโงกุ

ูโงกุ หรือ ชูโกกุ เป็นภูมิภาคทางส่วนปลายสุดของเกาะฮนชู โดยทิศเหนือติดทะเลญี่ปุ่น ทิศใต้ติดกับทะเลในทะเลเซโตะใน (Seto Naikai) ซึ่งเป็นผืนน้ำขนาด 9,500 ตารางกิโลเมตร มีเกาะเล็ก ๆ ระเกะระกะกว่า 1,000 เกาะ และได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของญี่ปุ่น ชูโงกุมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 7.8 ล้านคน จากทั้งหมด 5 จังหวัด ซึ่งแบ่งเป็นสองด้านโดยเทือกเขาชูโงกุ ทางตอนกลางของภูมิภาค ด้านที่อยู่ทางฝั่งทะเลญี่ปุ่นเรียกว่า San-In ซึ่งแปลว่าร่มเงาของภูเขา ได้แก่จังหวัดทตโตริ ชิมาเนะ และตอนเหนือของจังหวัดยามางูจิ ภูมิอากาศของดินแดนทางด้านทะเลญี่ปุ่นนี้ มีแสงแดดจ้าและสดใสในฤดูร้อน ฤดูหนาวอากาศหนาวเย็น มรสุมจากทางตะวันตกเฉียงเหนือทำให้มีหมอกจัดและเมฆหนาทึบ ส่วนอีกด้านหนึ่งเรียกว่า San-Yo คือทางฝั่งทะเลใน ประกอบไปด้วยจังหวัดโอกายามะ ฮิโรชิมะ และทางตอนใต้ของจังหวัดยามางูจินั้นมีอากาศอุ่นสบายตลอดปี ปริมาณน้ำฝนมีไม่มาก มีแสงแดดจ้าเป็นส่วนใหญ่นอกจากเมืองฮิโรชิมะที่เป็นที่รู้จักกันดี เนื่องจากผลของการทิ้งระเบิดปรมาณูเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว ภูมิภาคนี้ยังมีชื่อเสียงในเรื่องของปราสาท สถาปัตยกรรมและศิลปหัตถกรรมโบราณ รวมถึงเนินทรายที่เลื่องชื่อแห่งทตโตริก็อยู่ที่ภูมิภาคนี้.

คุโระดะ โยะชิตะกะและชูโงกุ · ชูโงกุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ

ทธการเซะกิงะฮะระ เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

คุโระดะ โยะชิตะกะและยุทธการที่เซะกิงะฮะระ · ยุทธการที่เซะกิงะฮะระและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโฮโจ

ตระกูลโฮโจ (Hōjō Clan) เป็นตระกูล ซะมุไร ที่ทรงอิทธิพลในยุค คะมะกุระ เพราะผู้นำตระกูลคนแรกคือ โฮโจ โทะคิมะซะ เป็นพ่อตาของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของ รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ และเป็น ชิกเก็ง หรือ ผู้สำเร็จราชการ ในสมัยของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริอิเอะ โชกุนคนที่ 2 ผู้เป็นหลานชายคนโต ตระกูลโฮโจเริ่มมีบทบาทสำคัญเมื่อ โฮโจ โทะกิมะซะ ได้ช่วยชีวิต มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ จากการถูก ไล่ฆ่าพร้อมกับสนับสนุนโยะริโตะโมะให้ลุกขึ้นสู้กับ ตระกูลไทระ และยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย หลังจาก สงครามเก็มเป ปรากฏว่าตระกูลมินะโมะ โตะได้ชัยชนะและทรงอำนาจในแผ่นดินเหนือราชสำนัก จึงทำให้ตระกูลโฮโจมีอำนาจและอิทธิพลตามไปด้วย หลังจาก จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เสด็จสวรรคตลง ในปี ค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะจึงได้รับพระราชทาน ตำแหน่ง เซไตโชกุน เป็นคนแรกจาก จักรพรรดิโกะ-โทะบะ ยิ่งทำให้ตระกูลโฮโจทรงอำนาจและอิทธิพล มากขึ้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1202 โยะริโตะโมะถึงแก่อสัญกรรม โยะริอิเอะ บุตรชายคนโตจึงขึ้นเป็นโชกุนสืบต่อมา แต่ในสมัยของโยะริอิเอะอำนาจทั้งหมดอยู่ที่โทะคิมะซะ ผู้เป็นตาพร้อมกันนั้นยังบีบบังคับโชกุนโยะริอิเอะให้ตั้ง ตัวเองเป็น ชิกเก็ง หรือผู้สำเร็จราชการทำให้โชกุน โยะริอิเอะไม่พอใจสละตำแหน่งให้ ซะเนะโตะโมะ ผู้ เป็นน้องชายหลังจากดำรงตำแหน่งเพียง 1 ปีซึ่งหลังจาก สมัยของโชกุนโยะริอิเอะเป็นต้นไปอำนาจทั้งหมดอยู่ที่ ชิกเก็งที่มาจากตระกูลโฮโจทั้งสิ้น ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงในปี ค.ศ. 1333 หลังจาก ตระกูลอะชิกะงะ ที่นำโดย อะชิกะงะ ทะกะอุจิ กระทำรัฐประหาร บุกเข้ายึด คะมะกุระ ทำให้ตระกูลโฮโจหมดอำนาจลงพร้อมกับตระกูลมินะโมะโต.

คุโระดะ โยะชิตะกะและตระกูลโฮโจ · ตระกูลโฮโจและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โมริ เทะรุโมะโตะ

โมะริ เทะรุโมะโตะ ไดเมียวแห่งโจชูคนที่ 1 โมะริ เทะรุโมะโตะ (Mori Terumoto,4 กุมภาพันธ์ 1553 - 2 มิถุนายน 1625) เป็นไดเมียวหรือเจ้าแคว้นโจชูคนแรก หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:ไดเมียว.

คุโระดะ โยะชิตะกะและโมริ เทะรุโมะโตะ · โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิและโมริ เทะรุโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

คุโระดะ โยะชิตะกะและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · โทกูงาวะ อิเอยาซุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

คุโระดะ โยะชิตะกะและไดเมียว · โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชิโกกุ

กกุ เป็นเกาะที่เล็กที่สุดในบรรดาสี่เกาะหลักของญี่ปุ่น มีพื้นที่ 18,783 ตารางกิโลเมตร ถูกล้อมรอบ 3 ด้านด้วยเกาะฮนชูและเกาะคีวชู ตอนกลางของเกาะมีภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,000-2,000 เมตร มีประชากรประมาณ 4.2 ล้านคนอาศัยอยู่กระจายตามที่ลุ่มชายฝั่งทะเล หากเทียบกับอีก 3 เกาะหลักของญี่ปุ่นแล้ว ชิโกกุมีความเงียบสงบและยังคงบรรยากาศแบบธรรมชาติไว้ได้ โดยที่ไม่ถูกกลืนโดยวัฒนธรรมสมัยใหม่ ชิโกกุถูกแบ่งออกเป็นตอนเหนือและตอนใต้โดยภูเขาสูงชัน ทางเหนือมีปริมาณน้ำฝนน้อยและมีเมืองอุตสาหกรรมอยู่ตลอดแนว ส่วนทางใต้ด้านมหาสมุทรแปซิฟิกนั้นจะเป็นป่ารก อากาศจะอบอุ่น ปริมาณน้ำฝนมีมาก อากาศบนเกาะจะอบอุ่นสบายในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ และช่วงเริ่มฤดูใบไม้ร่วง นอกจากอุตสาหกรรมผลิตเหล็กและเคมีแล้ว การประมงกับการเกษตรกรรมแบบเร่งผลผลิตทำกันอย่างแพร่หลาย บนที่ราบของเมืองโคจิชายฝั่งทะเลแปซิฟิก มีการมีการทำไร่ผลไม้ และการปลูกผักในเรือนกระจก เกาะชิโกกุถูกเชื่อมต่อกับเกาะฮนชูด้วยสะพานเซโตโอฮาชิ ซึ่งเป็นสะพานหกสาย ใช้เกาะเล็ก ๆ 5 แห่งเป็นจุดเชื่อมต่อ ด้วยความยาวถึง 12.3 กิโลเมตร ทำให้สะพานแห่งนี้ เป็นหนึ่งในสะพานสองชั้นที่มีความยาวมากกว่าสะพานแห่งอื่น ๆ ในโลกเก.

คุโระดะ โยะชิตะกะและเกาะชิโกกุ · เกาะชิโกกุและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

คุโระดะ โยะชิตะกะและเกาะคีวชู · เกาะคีวชูและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

คุโระดะ โยะชิตะกะและเคียวโตะ · เคียวโตะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คุโระดะ โยะชิตะกะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

คุโระดะ โยะชิตะกะ มี 31 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มี 52 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 10.84% = 9 / (31 + 52)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คุโระดะ โยะชิตะกะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »