เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คำเทศนาบนภูเขาและโทราห์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คำเทศนาบนภูเขาและโทราห์

คำเทศนาบนภูเขา vs. โทราห์

การเทศนาบนภูเขา ภาพวาดของ Carl Heinrich Bloch คำเทศนาบนภูเขา (The Sermon On The Mount) ในพระวรสารนักบุญมัททิว (Gospel of Matthew) คือบันทึกการเทศนาของพระเยซู เมื่อประมาณปี ค.ศ. 30 บนภูเขาต่อหน้าอัครทูต 12 คนและผู้มาเฝ้าชุมนุมจำนวนมาก (Matt 5:1; 7:28) เป็นการเทศนาที่ประมวลคำสอนของพระเยซูที่เคยสั่งสอนตลอดช่วงเวลาสามปีในปาเลสไตน์ไว้อย่างเป็นระบบที่สุด นับเป็นบทเทศนาที่ท้าทายสภาพสังคมในยุคสมัยนั้น และแสดงถึงความแตกต่างในแนวทางคำสอนของพระเยซูกับแนวทางของศาสนายูดาห์ดั้งเดิมอย่างชัดเจน แสดงให้เห็นถึงจุดประสงค์ของพระเยซูที่ต้องการปฏิรูปชีวิตมนุษย์ไปสู่หนทางที่ถูกต้องอีกระดับหนึ่งตามแนวทางของพระองค์ อีกทั้งยังเป็นหลักจริยธรรมที่ทรงมอบให้แก่มนุษย์ทุกคนได้ถือปฏิบัติเพื่อความสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ส่วนหนึ่งของ คำเทศนาบนภูเขา ที่ถูกอ้างอิงอยู่เสมอๆ รู้จักกันในชื่อหนึ่งว่า "พระพรมหัศจรรย์" (Beatitudes) คำเทศนาบนภูเขา ที่ปรากฏในพระวรสารทั้ง 4 เล่มในคัมภีร์ไบเบิล เริ่มต้นด้วยคำสอนเกี่ยวกับผู้เหมาะสมกับแผ่นดินสวรรค์คือ. ทราห์ (Torah; תּוֹרָה โทราห์; التوراة เตารอต; Τορά) เป็นชื่อของชุดคัมภีร์ชุดแรกในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มแรกในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ หมายถึง บทบัญญัติ ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยแปลว่า ธรรมบัญญัติ หรือ พระบัญญัติ ภายหลังได้มีการแปลเป็นภาษากรีกจึงมีชื่อเรียกใหม่ว่า เบญจบรรณ (Pentateuch) หมายถึง ที่บรรจุห้าอัน คือหนังสือ 5 เล่มแรกของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ได้แก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำเทศนาบนภูเขาและโทราห์

คำเทศนาบนภูเขาและโทราห์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คัมภีร์ไบเบิล

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

คัมภีร์ไบเบิลและคำเทศนาบนภูเขา · คัมภีร์ไบเบิลและโทราห์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คำเทศนาบนภูเขาและโทราห์

คำเทศนาบนภูเขา มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทราห์ มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.70% = 1 / (8 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำเทศนาบนภูเขาและโทราห์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: