โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำอนุภาคและอุปสรรค (ไวยากรณ์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คำอนุภาคและอุปสรรค (ไวยากรณ์)

คำอนุภาค vs. อุปสรรค (ไวยากรณ์)

ในทางภาษาศาสตร์ คำอนุภาค หมายถึงคำที่มีความหมาย มีการใช้งาน แต่ไม่ถูกจัดเป็นชนิดของคำที่ผันรูปได้ในภาษาหนึ่ง ๆ (เช่นไม่ได้เป็นทั้งคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา ฯลฯ) คำอนุภาคใช้อธิบายอย่างกว้าง ๆ ถึงกลุ่มของคำหรือศัพท์ที่แตกต่างกัน ซึ่งขาดการนิยามความหมายอย่างถูกต้องแม่นยำ ส่วนใหญ่ถูกใช้เพื่อเป็นตัวช่วยแสดงประเภทไวยากรณ์ (เช่นการปฏิเสธ มาลา การก ฯลฯ) หรือใช้เป็นคำเสริม มักใช้ในภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน นอกจากนี้ คำอนุภาคไม่มีการผันรูป. อุปสรรค หรือ หน่วยคำเติมหน้า (Prefix) คือหน่วยคำเติมชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับเติมหน้ารากศัพท์ เพื่อเพิ่มความหมาย เปลี่ยนความหมาย หรือเปลี่ยนหน้าที่ของคำ (เช่นเปลี่ยนคำกริยาเป็นคำนาม) มีใช้ในภาษาต่าง ๆ ในหลายตระกูล เช่น ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน (ภาษาบาลี สันสกฤต กรีก ละติน แม้กระทั่งภาษาอังกฤษ) ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก (ภาษามอญ เขมร) ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน (ภาษามลายู) เป็นต้น อุปสรรคจะไม่ปรากฏอยู่เดี่ยว ๆ ต้องเติมหน้าคำอื่น ในภาษาหนึ่ง ๆ มักจะมีอุปสรรคจำนวนจำกัด เช่น ในภาษาบาลีมีอุปสรรคเพียง 20 คำ อาทิ วิ, อุ, อา, นิ, ป, สํ, สุ, อต, อธิ, อนุ, อภิ, อุป ฯลฯ ในภาษาไทยไม่มีอุปสรรคแท้ แต่มักนำศัพท์ที่เติมอุปสรรคแล้วมาใช้ อย่างไรก็ตาม มีความนิยมสร้างคำโดยใช้อุปสรรคเติมหน้าศัพท์อื่นบ้างเช่นกัน ขณะที่ในบางภาษามีการยืมอุปสรรคของภาษาอื่นมาใช้เติมในคำศัพท์ของภาษาตัวเองอยู่บ้าง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำอนุภาคและอุปสรรค (ไวยากรณ์)

คำอนุภาคและอุปสรรค (ไวยากรณ์) มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คำอนุภาคและอุปสรรค (ไวยากรณ์)

คำอนุภาค มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ อุปสรรค (ไวยากรณ์) มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำอนุภาคและอุปสรรค (ไวยากรณ์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »