โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าและภาษาสวาฮีลี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าและภาษาสวาฮีลี

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า vs. ภาษาสวาฮีลี

ำอธิษฐาน (โปรเตสแตนต์) หรือ บทภาวนา (คาทอลิก) ขององค์พระผู้เป็นเจ้า (the Lord's Prayer) เป็นการอธิษฐานในศาสนาคริสต์ ซึ่งมีที่มาจากคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ คัมภีร์ระบุคำอธิษฐานนี้ไว้อยู่สองแบบ คือแบบพระวรสารนักบุญมัทธิวตอนที่พระเยซูแสดงคำเทศนาบนภูเขา และแบบพระวรสารนักบุญลูกาตอนที่สาวกคนหนึ่งทูลพระเยซูว่า "องค์พระผู้เป็นเจ้า ขอทรงสอนพวกข้าพระองค์อธิษฐาน เหมือนที่ยอห์นสอนพวกศิษย์ของท่าน". ษาสวาฮีลี (หรือ คิสวาฮีลี) เป็นภาษากลุ่มแบนตูที่พูดอย่างกว้างขวางในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวาฮีลีเป็นภาษาแม่ของชาวสวาฮีลี ซึ่งอาศัยอยู่แถบชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกระหว่างประเทศโซมาเลียตอนใต้ ประเทศโมแซมบิกตอนเหนือ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 5 ล้านคนและคนพูดเป็นภาษาที่สองประมาณ 30-50 ล้านคน ภาษาสวาฮีลีได้กลายเป็นภาษาที่ใช้โดยทั่วไปในแอฟริกาตะวันออกและพื้นที่รอบ ๆ คำว่า Swahili มาจากรูปพหูพจน์ของคำภาษาอาหรับ sahel ساحل (เอกพจน์) คือ sawahil سواحل แปลว่า "ขอบเขต" และ "ชายฝั่ง" (ใช้เป็นคำวิเศษณ์ที่แปลว่า "คนที่อาศัยอยู่ชายฝั่ง" หรือ "ภาษาชายฝั่ง") นอกจากนี้ คำว่า sahel ใช้เรียกพื้นที่พรมแดนของทะเลทรายซาฮารา การเพิ่ม "i" ตรงท้ายน่าจะมาจาก nisba ของภาษาอาหรับ (ของชายฝั่ง سواحلي) บ้างก็ว่าเป็นเหตุผลทางสัทศาสตร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าและภาษาสวาฮีลี

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าและภาษาสวาฮีลี มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าและภาษาสวาฮีลี

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาสวาฮีลี มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (19 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าและภาษาสวาฮีลี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »