คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ
คำยืม vs. อักษรไลเนียร์เอ
ำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะศัพท์เฉพาะทางเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน. อักษรไลเนียร์เอ ใช้เขียนในช่วง 1,257 – 907 ปีก่อนพุทธศักราช มีสัญญลักษณ์ 60 ตัวแสดงพยางค์ และอีก 60 ตัวแสดงเสียงและสื่อถึงความหมาย ส่วนใหญ่ใกล้เคียงกับอักษรไลเนียร์บี เขียนในแนวนอน จากซ้ายไปขวา บนแผ่นดินเหนียว ซึ่งอาจใช้จดบันทึกในการค้.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ
คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ
การเปรียบเทียบระหว่าง คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ
คำยืม มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ อักษรไลเนียร์เอ มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (35 + 3)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำยืมและอักษรไลเนียร์เอ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: