โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำ ผกาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คำ ผกาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำ ผกา vs. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ลักขณา ปันวิชัย หรือ คำ ผกา เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2515 ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นนักเขียนที่เป็นรู้จักในฐานะนักเขียนคอลัมน์เรื่อง "กระทู้ดอกทอง" และพิธีกรในสถานีวอยซ์ทีวี ในอดีตได้ทำงานเป็น นักข่าว และครู คอลัมนิสต์ นักแปล และได้ถ่ายภาพเปลือยให้แก่นิตยสาร GM Plus และถ่ายภาพเปลือยตัวเองเพื่อแสดงความเห็นในคดีระหว่างพนักงานอัยการ กับอำพล ตั้งนพกุล ในขณะที่เป็นนักเขียนเธอได้มีนามปากกาหลายชื่อ ได้แก่ "คำ ผกา", "ฮิมิโตะ ณ เกียวโต" และ "คำปัน ณ ปันนา". มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำ ผกาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำ ผกาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2515พ.ศ. 2553จังหวัดเชียงใหม่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่นักเขียน

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คำ ผกาและพ.ศ. 2515 · พ.ศ. 2515และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

คำ ผกาและพ.ศ. 2553 · พ.ศ. 2553และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

คำ ผกาและจังหวัดเชียงใหม่ · จังหวัดเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 พร้อมกับมหาวิทยาลัย โดยเป็นหนึ่งในสามคณะแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่นเดียวกับคณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์สังกัดอยู่ในกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร.

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคำ ผกา · คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียน

นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.

คำ ผกาและนักเขียน · นักเขียนและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คำ ผกาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำ ผกา มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มี 166 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 2.62% = 5 / (25 + 166)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำ ผกาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »