โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำและวจีวิภาค

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คำและวจีวิภาค

คำ vs. วจีวิภาค

ำ เป็นหน่วยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบด้วยพยางค์หนึ่งพยางค์หรือมากกว่า ปกติแล้วในแต่ละคำจะมีรากศัพท์ของคำแสดงถึงความหมายและที่มาของคำนั้น โดยการนำคำหลายคำมาประกอบกันจะทำให้เกิดวลีหรือประโยคซึ่งใช้สื่อความหมายให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นไป. วจีวิภาค (ละติน: pars orationis, part of speech) ในทางไวยากรณ์ หมายถึงประเภทของคำในทางภาษาศาสตร์ ซึ่งโดยทั่วไปนิยามโดยลักษณะวากยสัมพันธ์หรือหน่วยคำของคำที่กล่าวถึง แทบทุกภาษามีคำชนิดนามและกริยา แต่นอกเหนือจากนี้ จะมีแตกต่างกันไปในแต่ละภาษา ตัวอย่างเช่น ภาษาญี่ปุ่นมีคำคุณศัพท์สามชนิด ขณะที่ภาษาอังกฤษมีชนิดเดียว ภาษาจีน เกาหลีและญี่ปุ่นมีลักษณนาม ขณะที่ภาษาทางยุโรปไม่มี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คำและวจีวิภาค

คำและวจีวิภาค มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คำบุพบทคำกริยาคำกริยาวิเศษณ์คำสรรพนามคำสันธานคำนาม

คำบุพบท

ำบุพบท บางตำราก็ว่า คำบุรพบท คือคำที่ใช้นำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา หรือคำวิเศษณ์ เพื่อบอกสถานภาพของคำเหล่านั้น หรือเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำหรือปร.

คำและคำบุพบท · คำบุพบทและวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

คำกริยา

ำกริยา คือคำที่ใช้บ่งบอกถึงการกระทำ การปรากฏ หรือสถานะของสิ่งที่กล่าวถึง คำกริยาอาจมีรูปแบบที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับภาษา อันมีองค์ประกอบจากกาล การณ์ลักษณะ มาลา วาจก หรือรวมทั้งบุรุษ เพศ และพจน์ของสิ่งที่กล่าวถึงด้ว.

คำและคำกริยา · คำกริยาและวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

คำกริยาวิเศษณ์

ำกริยาวิเศษณ์ เป็นคำชนิดหนึ่งมีใช้ในหลายภาษา ตัวอย่างที่เห็นชัดคือภาษาอังกฤษ คำกริยาวิเศษณ์หมายถึงคำที่ทำหน้าที่ขยายความคำกริยาหรือคำอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากคำนาม เช่นคำคุณศัพท์ (รวมทั้งจำนวน) อนุประโยค ประโยค และคำกริยาวิเศษณ์อื่น คำกริยาวิเศษณ์ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำวิเศษณ์ในภาษาไท.

คำและคำกริยาวิเศษณ์ · คำกริยาวิเศษณ์และวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

คำสรรพนาม

ในทางภาษาศาสตร์และไวยากรณ์ คำสรรพนามเป็นคำซึ่งใช้แทนคำนามหรือนามวลี คำนามถือว่าเป็นคำชนิดหนึ่ง แต่นักทฤษฎีสมัยใหม่บางส่วนจะไม่จำกัดอยู่ในชนิดเดียว เพราะคำสรรพนามมีหลายหน้าที่ เช่น บุรุษสรรพนาม (personal pronoun) ประพันธสรรพนาม (relative pronoun) ปฤจฉาสรรพนาม (interrogative pronoun) นิยมสรรพนาม (demonstrative pronoun) สามีสรรพนาม (possessive pronoun) และอนิยมสรรพนาม (indefinite pronoun) การใช้คำสรรพนามมักเกี่ยวข้องกับการเน้นซ้ำคำ ซึ่งความหมายของคำสรรพนามขึ้นอยู่กับส่วนอ้างอิงอื่น ซึ่งใช้โดยเฉพาะกับสรรพนาม (บุรุษที่ 3) หมวดหมู่:ไวยากรณ์ หมวดหมู่:วจีวิภาค.

คำและคำสรรพนาม · คำสรรพนามและวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

คำสันธาน

ในไวยากรณ์ คำสันธาน คือชนิดของคำที่เชื่อมคำ ประโยค วลี หรือประโยคย่อยเข้าด้วยกัน คำสันธานที่เชื่อมประโยคเข้าด้วยกันเรียกว่า คำเชื่อมสัมพันธสาร (discourse connective) บทนิยามนี้อาจทับซ้อนกับชนิดของคำชนิดอื่น ดังนั้น สิ่งที่ประกอบเป็น "คำสันธาน" จะต้องถูกนิยามขึ้นสำหรับแต่ละภาษา โดยทั่วไป คำสันธานเป็นคำอนุภาคที่ไม่ผันรูป และมันอาจจะวางอยู่ระหว่างประโยคสองประโยคที่เชื่อมกันหรือไม่ก็ได้ บทนิยามของคำสันธานอาจขยายรวมไปถึงวลีสำนวนที่มีลักษณะเป็นหน่วยหนึ่งหน่วยซึ่งทำหน้าที่เดียวกัน เช่น "as well as" (เช่นเดียวกับ), "provided that" (ในเงื่อนไขที่ว่า, ต่อเมื่อ) หมวดหมู่:ไวยากรณ์ หมวดหมู่:วจีวิภาค.

คำและคำสันธาน · คำสันธานและวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

คำนาม

ำนาม คือคำที่ทำหน้าที่เป็นชื่อของสิ่งของใด ๆ หรือชุดของสิ่งของใด ๆ เช่น สิ่งมีชีวิต วัตถุ สถานที่ การกระทำ คุณสมบัติ สถานะ หรือแนวคิด ในทางภาษาศาสตร์ คำนามเป็นหนึ่งในวจีวิภาคแบบเปิดที่สมาชิกสามารถเป็นคำหลักในประธานของอนุประโยค กรรมของกริยา หรือกรรมของบุพบท หมวดหมู่คำศัพท์ (วจีวิภาค) ถูกนิยามในทางที่ว่าสมาชิกจะอยู่รวมกับนิพจน์ชนิดอื่น ๆ กฎทางวากยสัมพันธ์ของคำนามจะแตกต่างกันระหว่างภาษาต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ คำนามคือคำที่สามารถมาพร้อมกับคำนำหน้านาม (article) และคำคุณศัพท์กำหนดลักษณะ (attributive adjective) และสามารถทำหน้าที่เป็นคำหลัก (head) ของนามวลี.

คำและคำนาม · คำนามและวจีวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คำและวจีวิภาค

คำ มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ วจีวิภาค มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 28.57% = 6 / (11 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คำและวจีวิภาค หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »