โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คอมมานโดและภาษาอาฟรีกานส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คอมมานโดและภาษาอาฟรีกานส์

คอมมานโด vs. ภาษาอาฟรีกานส์

อมมานโด ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ทหารหรือหน่วยหน่วยชนิดพิเศษ โดยปกติในการใช้ร่วมสมัย คอมมานโด หมายถึง หน่วยทหารราบเบาหัวกะทิหรือกำลังปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านการขึ้นบกสะเทินน้ำสะเทินบก การกระโดดร่ม การไต่เขาและเทคนิคที่คล้ายกัน เพื่อปฏิบัติการโจมตี เดิมที "คอมมานโก" หมายถึง ชนิดของหน่วยรบ ซึ่งไม่ใช่ปัจเจกบุคคลในหน่วยนั้น ในกองทัพของประเทศส่วนใหญ่ คอมมานโดมีลักษณะเฉพาะตรงที่มีความเชี่ยวชาญในการโจมตีเป้าหมายทางทหารตามแบบ ในขณะที่หน่วยกำลังพิเศษอื่นมีความเชี่ยวชาญพิเศษในการต่อต้านการก่อการร้าย การลาดตระเวนสอดแนม และการก่อวินาศกรรม อย่างไรก็ดี คำว่า คอมมานโด บางครั้งยังใช้เกี่ยวข้องกับหน่วยที่ปฏิบัติภารกิจอย่างหลัง (รวมทั้งหน่วยตำรวจพลเรือนบางหน่วยด้วย). ษาอาฟรีกานส์ (Afrikaans) เป็นภาษาในกลุ่มฟรังโคเนียล่าง มีเค้าโครงมาจากภาษาดัตช์ พูดในประเทศแอฟริกาใต้และนามิเบีย เกิดจากการผสมผสานของสำเนียงภาษาดัตช์ที่มีต้นกำเนิดจากทางตอนใต้ของฮอลแลนด์ ซึ้งใช้พูดกันในหมู่ผู้ตั้งถิ่นฐานชาวดัตช์ที่เข้ามาอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นแอฟริกาใต้ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 จึงถือเป็นภาษาลูกของดัตช์ โดยมีคำศัพท์ราว 90-95% มาจากภาษาดัตช์ แต่ภายหลังก็รับเอาคำจากภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสเข้ามาด้วย ความแตกต่างจากภาษาดัตช์โดยทั่วไปจำกัดอยู่แค่ในเรื่องของการเปลี่ยนรูปของคำ และไวยากรณ์ ดังนั้นผู้พูดภษาอาฟรีกานส์ และภาษาดัทช์จึงสามารถเข้าใจกันได้ดี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คอมมานโดและภาษาอาฟรีกานส์

คอมมานโดและภาษาอาฟรีกานส์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คอมมานโดและภาษาอาฟรีกานส์

คอมมานโด มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาอาฟรีกานส์ มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คอมมานโดและภาษาอาฟรีกานส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »