โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน

คอมมานด์ & คองเคอร์ vs. เพลย์สเตชัน

อมมานด์ & คอนเคอร์ (Command & Conquer หรือ C&C) คือชื่อของเกมคอมพิวเตอร์แนวเกมวางแผนการรบเรียลไทม์ และ เฟิร์ตเพอร์เซินชูตเตอร์ พัฒนาครั้งแรกโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ ระหว่างปี 1985 จนถึง 2003 ร่วมพัฒนากับบริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต โดยเกมแรกได้วางแผงทั่วโลกใน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ใช้ ชื่อว่า Command & Conquer โดยได้รับความนิยมทั่วโลก ตลาดที่ขายดีที่สุดได้แก่ อเมริกาเหนือ, ยุโรป และ ออสเตรเลีย และได้มีการแปลเป็นภาษาอื่นๆ ได้แก่ ภาษาเยอรมัน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาสเปน, ภาษาเกาหลี และ ภาษาจีน พัฒนาลงบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) เล่นผ่าน ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และยังได้พอร์ตลงเครื่อง คอนโซล และเครื่อง แมคอินทอช อีกด้วย เกม คอมมานด์ & คอนเคอร์ 3: ไทบีเรียมวอร์ส และ คอมมานด์ & คอนเคอร์ 3: เคนแรธ เป็นเกมที่พอร์ทลงเครื่องคอนโซล ซึ่งพอร์ตลงในเครื่อง เอกซ์บอกซ์ 360 และเกม คอมมานด์ & คอนเคอร์: เรด-อเลิร์ท 3 ก็ได้มีการพัฒนาลงเครื่อง พีซี เอกซ์บอกซ์ 360 และ เพลย์สเตชัน 3 ด้วยเช่นกัน ในปี 1999 บริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต ได้ซื้อบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ และต่อมาได้ปิดตัวลงในปี 2002 และรวมเข้ากับ อีเอ ลอสแอนเจลิส ซึ่งมีพนักงานเก่าของเวสท์วูดทำงานอยู่ แต่บางคนก็แยกตัวไปทำงานสตูดิโอใหม่ คือ Petroglyph Games ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2003 ซีรีส์เกม คอมมานด์ & คองเคอร์ มียอดจำหน่ายทั่วโลกรวมแล้วมากกว่า 21 ล้านชุด และในปี 2008 เกมในซีรีส์นี้รวมแล้วมีทั้งหมด 8 ภาคหลัก และภาคเสริมอีกมากมาย โดย เกมที่วางจำหน่ายล่าสุดคือเกม คอมมานด์ & คองเคอร์: เรดอเลิร์ท 3 และประกาศล่าสุดของเกมภาคสุดท้ายของซีรีส์ ไทบีเรียน ในชื่อว่า "คอมมานด์ & คองเคอร์ 4: ไทบีเรียน ทไวไลท์". ลย์สเตชัน (อังกฤษ: PlayStation ญี่ปุ่น: プレイステーション) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม ระบบ 32 บิต ผลิตโดย Sony Computer Entertainment โดยได้มีออกมาหลายรุ่นในลักษณะหลักเดียวกันในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2540 หลังจากที่ประสบความสำเร็จทางโซนี่ได้ออกเครื่องเล่นเกมในรุ่นต่อมาซึ่งได้แก่ พีเอสวัน (PSone), เพลย์สเตชัน 2, PSP (PlayStation Portable) และ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกจำหน่ายไปแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2549.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน

คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2538นินเท็นโด 64เพลย์สเตชัน 3

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คอมมานด์ & คองเคอร์และพ.ศ. 2538 · พ.ศ. 2538และเพลย์สเตชัน · ดูเพิ่มเติม »

นินเท็นโด 64

นินเท็นโด 64 (Nintendo 64 หรือ N64) เป็นเครื่องเล่นเกมคอนโซลรุ่นที่สามของบริษัทนินเท็นโด วางจำหน่ายครั้งแรกที่ญี่ปุ่น วันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1996 และที่สหรัฐอเมริกา วันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1996 ชื่อที่ใช้ในการพัฒนาคือ Project Reality ในภายหลังได้ใช้ชื่อ Nintendo Ultra 64 จากความสามารถในการประมวลผลแบบ 64 บิต ซึ่งนินเท็นโดได้นำคำว่า Ultra ออกเหลือเพียง Nintendo 64.

คอมมานด์ & คองเคอร์และนินเท็นโด 64 · นินเท็นโด 64และเพลย์สเตชัน · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน 3

ลย์สเตชัน 3 (อังกฤษ PlayStation 3, ญี่ปุ่น プレイステーション 3) ตัวย่อ PS3 เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมตระกูลเพลย์สเตชันรุ่นที่ 3 ของบริษัท โซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ถือเป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่ 7 ตัวเครื่องมีขนาด 12.8×3.9×10.8 นิ้ว (32.5×9.8×27.4 เซนติเมตร) ตัวเครื่องมีอย่างน้อย 3 สีให้เลือก คือสีดำ, สีขาว, และสีเงิน ตัวเครื่องที่ขายจะมีตัวเลือก 2 แบบที่แตกต่างกันในเรื่องของความจุฮาร์ดไดรฟ์ และช่องสัญญาณต่างๆ ขณะนี้ได้ออกวางจำหน่ายแล้ว โดยออกวางตลาดที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นที่แรก ในวันที่ 11 พ.ย. พ.ศ. 2549 ส่วนประเทศอื่นๆ วางตลาดในวันที่ 17 พฤศจิกายน โดยราคาอยู่ที่ US$499 (฿19,000) ในรุ่น 20 GB.

คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน 3 · เพลย์สเตชันและเพลย์สเตชัน 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน

คอมมานด์ & คองเคอร์ มี 53 ความสัมพันธ์ขณะที่ เพลย์สเตชัน มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.80% = 3 / (53 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คอมมานด์ & คองเคอร์และเพลย์สเตชัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »