ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และวิทยาการคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การรู้จำภาพการประมวลผลภาพการประมวลผลสัญญาณดิจิทัลข้อมูลคอมพิวเตอร์วิทัศน์
การรู้จำภาพ
การรู้จำภาพ เป็นแขนงหนึ่งของการรู้จำแบบ คำว่าแบบรูป สามารถแปรความได้หลายแบบ ในที่นี้จะหมายถึงกลุ่มของตัวเลขที่บรรยายลักษณะของภาพ ในการรู้จำภาพจะต้องรู้จำแบบรูป ของแต่ละภาพเพื่อแยกแยะภาพที่ต่างกันออกจากกัน แบบภาพที่ดีจะบ่งถึงลักษณะของภาพ ซึ่งอาจได้จากการวัด เช่นอัตราส่วนความกว้างต่อความยาว หมวดหมู่:การเรียนรู้ของเครื่อง.
การรู้จำภาพและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · การรู้จำภาพและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ·
การประมวลผลภาพ
การประมวลผลภาพ (image processing) คือ เป็นการประยุกต์ใช้งานการประมวลผลสัญญาณบนสัญญาณ 2 มิติ เช่น ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย) หรือภาพวีดิทัศน์ (วิดีโอ) และยังรวมถึงสัญญาณ 2 มิติอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาพด้วย แนวความคิดและเทคนิค ในการประมวลผลสัญญาณ สำหรับสัญญาณ 1 มิตินั้น สามารถปรับมาใช้กับภาพได้ไม่ยาก แต่นอกเหนือจาก เทคนิคจากการประมวลผลสัญญาณแล้ว การประมวลผลภาพก็มีเทคนิคและแนวความคิดที่เฉพาะ (เช่น connectivity และ rotation invariance) ซึ่งจะมีความหมายกับสัญญาณ 2 มิติเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามเทคนิคบางอย่าง จากการประมวลผลสัญญาณใน 1 มิติ จะค่อนข้างซับซ้อนเมื่อนำมาใช้กับ 2 มิติ เมื่อหลายสิบปีมาแล้ว การประมวลผลภาพนั้น จะอยู่ในรูปของการประมวลผลสัญญาณแอนะล็อก (analog) โดยใช้อุปกรณ์ปรับแต่งแสง (optics) ซึ่งวิธีเหล่านั้นก็ไม่ได้หายสาบสูญ หรือเลิกใช้ไป ยังมีใช้เป็นส่วนสำคัญ สำหรับการประยุกต์ใช้งานบางอย่าง เช่น ฮอโลกราฟี (holography) แต่เนื่องจากอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ราคาถูกลง และเร็วขึ้นมาก การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image processing) จึงได้รับความนิยมมากกว่า เพราะการประมวลผลที่ทำได้ซับซ้อนขึ้น แม่นยำ และง่ายในการลงมือปฏิบัต.
การประมวลผลภาพและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · การประมวลผลภาพและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ·
การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล
การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล หรือ ที่เรียกกันติดปากสั้น ๆ ว่า ดีเอสพี (DSP - digital signal processing) เป็นการศึกษาการประมวลผลสัญญาณที่อยู่ในรูปดิจิทัล (digital) โดยทั่วๆ ไป การประมวลผลสัญญาณ อาจแบ่งได้ตาม.
การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · การประมวลผลสัญญาณดิจิทัลและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ·
ข้อมูล
้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวัดและสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่ำที่สุดของภาวะนามธรรมที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวมจำนวนและอักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนิด ที่ไม่อยู่ในการควบคุม ข้อมูลเชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบันทึก.
ข้อมูลและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · ข้อมูลและวิทยาการคอมพิวเตอร์ ·
คอมพิวเตอร์วิทัศน์
อมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการดึงสารสนเทศจากรูปภาพหรือวีดิทัศน์ เครื่องมือที่ใช้ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก่ คณิตศาสตร์โดยเฉพาะ เรขาคณิต พีชคณิตเชิงเส้น สถิติ และ การวิจัยดำเนินงาน (การหาค่าเหมาะที่สุด) และการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน โดยเครื่องมือเหล่านี้ใช้ในการสร้างขั้นตอนวิธีหรือ ขั้นตอนวิธี ในการแยกส่วนภาพ และ การจัดกลุ่มภาพเพือให้คอมพิวเตอร์สามารถ "เข้าใจ" ทัศนียภาพ หรือคุณลักษณะต่าง ๆ ในภาพ เป้าหมายโดยทั่วไปของคอมพิวเตอร์วิทัศน์ได้แก.
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และคอมพิวเตอร์วิทัศน์ · คอมพิวเตอร์วิทัศน์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และวิทยาการคอมพิวเตอร์
การเปรียบเทียบระหว่าง คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และวิทยาการคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิทยาการคอมพิวเตอร์ มี 85 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 4.39% = 5 / (29 + 85)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คอมพิวเตอร์กราฟิกส์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: