โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)

ดัชนี คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)

อนสแตนติน อาจจะหมายถึง.

16 ความสัมพันธ์: ชาวกรีกสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซสมเด็จพระนารายณ์มหาราชห้องราฟาเอลอาณาจักรอยุธยาจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราชจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่มจักรวรรดิโรมันจักรวรรดิไบแซนไทน์คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)คนพิฆาตผีประเทศไทยเจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)

ชาวกรีก

วกรีก (Έλληνες) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการกระจายที่กรีซ, ไซปรัส, อานาโตเลียตะวันตก, อิตาลีใต้ และอีกหลายภูม.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และชาวกรีก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ

มเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Βʹ, Konstantínos IIʹ; พระราชสมภพ 2 มิถุนายน 2483) เป็นพระมหากษัตริย์ของกรีซ ตั้งแต่ปี 1964 จนถึงการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี 1973 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระเจ้าพอลที่ 1 แห่งกรีซพระราชบิดาของพระองค์ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งกรีซ ในราชวงศ์กลึคสบวร์ก แม้ว่าพระองค์จะทรงเป็นที่รักของประชาชน แต่ในไม่ช้าประเทศกรีซก็เกิดการขัดแย้งและนำไปสู่การรัฐประหาร เมื่อวันที่ 21 เมษายน 1967 หลังจากการรัฐประหาร พระองค์ทรงถูกเนรเทศโดยกองทัพพร้อมกับพระบรมวงศานุวงศ์ ให้ออกจากประเทศกรีซและมิให้กลับมาอีก.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ห้องราฟาเอล

“อาดัมและอีฟ” จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” แม้ว่างานส่วนใหญ่ในห้องราฟาเอลจะเชื่อกันว่าเป็นงานเขียนของผู้ช่วยของราฟาเอลแต่เชื่อกันว่าภาพนี้เขียนโดยราฟาเอลเอง “เทพีแห่งความยุติธรรม”จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” ห้องราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: Raphael Rooms หรือ Stanze di Raffaello) เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน เป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลและผู้ช่วย จิตรกรรมฝาผนังในห้องราฟาเอลและในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโลถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์ในกรุงโรม “ห้อง” (Stanze) ที่ใช้เรียกเดิมตั้งใจจะเป็นห้องที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 พระองค์ทรงจ้างราฟาเอลผู้ขณะนั้นยังเป็นจิตรกรที่ยังหนุ่มจากเออร์บิโนและผู้ช่วยระหว่างปี ค.ศ. 1508 - ค.ศ. 1509 ให้ตกแต่งภายในห้องชุดใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจจะทรงประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่าพระสันตะปาปาองค์ก่อนสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ผู้ทรงเป็นปรปักษ์ เพราะห้องเหล่านี้อยู่เหนือห้องบอร์เจีย (Borgia Apartment) ของพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์โดยตรงพอดี ห้องชุดราฟาเอลอยู่บนชั้นสามที่มีทิวทัศน์ทางด้านใต้ของลานเบลเวเดียร์ (Cortile del Belvedere) ที่ตั้งของห้องสี่ห้องตั้งจากตะวันออกไปตะวันตกซึ่งทำให้การชมภาพจะไม่ต่อเนื่องตามหัวเรื่องที่เขียนไว้ ห้องชุดสี่ชุดได้แก่ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระสันตะปาปาจูเลียสในปี ค.ศ. 1513 หลังจากที่ตกแต่งห้องสองห้องเสร็จแล้ว สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ก็ทรงดำเนินโครงการต่อ และหลังจากการเสียชีวิตของราฟาเอลในปี ค.ศ. 1520 จานฟรานเชสโค เพ็นนิ, จุยลิโอ โรมาโน และราฟาเอลลิโน เดล โคลเลผู้ช่วยของราฟาเอลก็เขียนภาพในห้อง “ห้องคอนแสตนติน” ต่อจนเสร็.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และห้องราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช

ักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 (ConstantineI 27 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 272Birth dates vary but most modern historians use "ca. 272". Lenski, "Reign of Constantine", 59. – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337) ครองราชสมบัติเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306 ถึงวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 312 มีพระนามเต็มว่า “Flavius Valerius Aurelius Constantinus” หรือที่รู้จักกันว่า “คอนสตันไทน์ที่ 1” ในบรรดาผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิก หรือ “คอนสตันไทน์มหาราช” หรือ “นักบุญคอนสตันไทน์” ในบรรดาผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์หรือนิกายไบแซนไทน์คาทอลิก พระราชกรณียกิจสำคัญที่สุดคือการประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันเมือปี ค.ศ. 313 จักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จึงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันที่นับถือศาสนาคริสต์ตามพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน (Edict of Milan) ที่ประกาศโดยจักรพรรดิลีซีนีอุส (Licinius) ผู้ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระองค์ พระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นพระราชกฤษฎีกาที่ยกเลิกการทารุณกรรมต่อคริสต์ศาสนิกชนทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน ตามปฏิทินศาสนาของไบเซ็นไทน์ของนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และนิการคาทอลิกตะวันออกแห่งไบเซนไทน์บันทึกจักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1และเฮเลนแห่งคอนสแตนติโนเปิลพระมารดาว่าเป็นนักบุญ แต่ในปฏิทินศาสนาของตะวันตกไม่มีอยู่ในรายนามนักบุญ คอนสตันไทน์ได้รับนาม “มหาราช” เพราะพระราชกรณียกิจต่างที่ทรงทำให้ต่อคริสต์ศาสนา ในปี ค.ศ. 324 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ทรงประกาศการปรับปรุงเมืองไบเซนเทียมให้เป็น “กรุงโรมใหม่” (Nova Roma) และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 330 ทรงประกาศให้เมืองไบเซ็นเทียมเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบเซ็นเทียมเปลื่ยนชื่อเป็น “คอนสแตนติโนเปิล” แปลว่า “เมืองของคอนสตันไทน์” หลังจากจักพรรดิคอนสตันไทน์สิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2

จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 และ พระนางฟาอัสตา ประสูติเมื่อปีค.ศ. 316 ปีค.ศ. 317พระชนม์เพียง 1 พรรษาก็ทรงครองจักรวรรดิโรมันร่วมกับพระราชบิดาทรงครองราชย์ร่วม กับพระราชบิดานานถึง 20 ปีก่อนที่จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่1 จะสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337และทรงครองจักรวรรดิร่วม กับจักรพรรดิคอนแสตนติอัสที่ 2พระราชอนุชา และ จักรพรรดิคอนสแตนส์ ก่อนจะสวรคตในปีค.ศ. 340 ขณะพระชนม์เพียง 24 พรรษา คอนสตันไทน์ที่ 2 คอนสตันไทน์ที่ 2.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส (Constantine XI Palaiologos, 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1405-29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453) เป็นจักรพรรดิโรมันองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1449-ค.ศ. 1453 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1947 หมวดหมู่:จักรพรรดิไบแซนไทน์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่เสด็จสวรรคตในสงคราม.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งไบแซนไทน์ หรือ เฮราคลิอัส โนวัส คอนสแตนตินัส (Constantine III (Byzantine emperor); ชื่อเต็ม: Heraclius Novus Constantinus; Ηράκλειος (νέος) Κωνσταντίνος) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 612 – 20 เมษายน หรือ 24/26 พฤษภาคม ค.ศ. 641) คอนสแตนตินที่ 3 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เพียงสี่เดือนตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 จนเสด็จสวรรคต คอนสแตนตินเป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและพระอัครมเหสีองค์แรกจักรพรรดินียูโดเคี.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม

ักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม (ภาษาอังกฤษ: The Baptism of Constantine) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยผู้ช่วยของราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ผู้ที่น่าจะเป็นผู้เขียนคือจานฟรานเชสโค เพ็นนิ (Gianfrancesco Penni) ภาพเขียนอยู่ในวังวาติกันในประเทศอิตาลี จานฟรานเชสโค เพ็นนิเขียนภาพนี้ระหว่างปี ค.ศ. 1517 ถึงปี ค.ศ. 1524 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1520 เพ็นนิกับสมาชิกในเวิร์คช็อพของราฟาเอลก็วาดภาพที่ได้รับค่าจ้างไว้จนเสร็จ ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” (Stanze di Raffaello) ภายในวังวาติกัน ภาพ “จักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม” ตั้งอยู่ภายในห้องโถงคอนแสตนติน (Sala di Costantino) ในภาพเป็นภาพจักรพรรดิคอนแสตนตินที่ 1 ก่อนที่จะเสด็จสวรรคต ทรงคุกพระเพลาเพื่อรับศีลจุ่มสมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 1 แต่จิตรกรใช้เครื่องหมายของพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ผู้ที่เป็นผู้สั่งจ้างให้เขียนภาพบนผนังให้เสร็จแทนที่ พระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ทรงสั่งให้เขียนต่อจากงานที่ค้างไว้ระหว่างที่หยุดไปในสมัยพระสันตะปาปาเฮเดรียนที่ 6 ขณะที่ภาพมีลักษณะทั่วไปเป็นแบบสมัยเรอเนซองส์สูง แต่ภาพหมู่ชนในภาพมีเป็นลักษณะแบบลัทธิแมนเนอริสม์ที่ออกไปทางซับซ้อนและไม่ประสานกัน.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรพรรดิคอนแสตนตินรับศีลจุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)

อนสแตนติน อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และคอนสแตนติน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

คนพิฆาตผี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และคนพิฆาตผี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)

้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) (Κωνσταντίνος Γεράκης, กอนสตันตีโนส เยราจิส; Constantine Phaulkon) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็นสมุหนายกในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา นอกจากภาษากรีกซึ่งเป็นภาษาแม่แล้ว ฟอลคอนยังสามารถพูดภาษาต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาโปรตุเกส และภาษามลายู.

ใหม่!!: คอนสแตนติน (แก้ความกำกวม)และเจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ConstantineConstantine (disambiguation)คอนสแตนติน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »