เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ความไวต่ออักษรใหญ่เล็กและภาษาโปรแกรม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความไวต่ออักษรใหญ่เล็กและภาษาโปรแกรม

ความไวต่ออักษรใหญ่เล็ก vs. ภาษาโปรแกรม

วามไวต่ออักษรใหญ่เล็ก (case sensitivity) หมายถึงภาวะที่คำคำหนึ่งที่มีความหมายแตกต่างกันเนื่องจากการใช้อักษรตัวใหญ่และอักษรตัวเล็กต่างกัน คำที่เขียนด้วยอักษรตัวใหญ่ไม่จำเป็นต้องมีความหมายเหมือนกับที่เขียนด้วยอักษรตัวเล็กเสมอไป ตัวอย่างเช่น Bill คือชื่อแรกของอดีตประธานาธิบดี บิล คลินตัน ในขณะที่ bill อาจหมายถึงร่างกฎหมายที่เสนอสภา (เป็นตัวอย่างความหมายหนึ่ง) หรืออย่างเช่น Polish หมายถึงชาวโปแลนด์หรือที่เกี่ยวกับประเทศโปแลนด์ ในขณะที่ polish แปลว่าขัดเงา เป็นต้น ภาวะที่ตรงข้ามกับ "ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก" (case-sensitive) ก็คือ "ไม่ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก" (case-insensitive) หมายความว่า ไม่ว่าจะใช้อักษรตัวใหญ่หรือตัวเล็กก็ให้ความหมายเดียวกัน ตัวอย่างข้อมูลในทางคอมพิวเตอร์ที่โดยปกติไวต่ออักษรใหญ่เล็ก อาท. ษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคำสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer) ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสำหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิดคำนวณในรูปแบบเชิงคำสั่ง อาทิลำดับของคำสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และอรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกำหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กำหนดโดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทำให้เกิดผลแบบอ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความไวต่ออักษรใหญ่เล็กและภาษาโปรแกรม

ความไวต่ออักษรใหญ่เล็กและภาษาโปรแกรม มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความไวต่ออักษรใหญ่เล็กและภาษาโปรแกรม

ความไวต่ออักษรใหญ่เล็ก มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาโปรแกรม มี 42 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 42)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความไวต่ออักษรใหญ่เล็กและภาษาโปรแกรม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: