โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย vs. เหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี.. หตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไท..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มุสลิมอำเภอหาดใหญ่อำเภอเมืองยะลาจังหวัดยะลาจังหวัดสงขลาจังหวัดปัตตานีท่าอากาศยานหาดใหญ่ประเทศมาเลเซียเทศบาลนครยะลา

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและมุสลิม · มุสลิมและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอหาดใหญ่ · อำเภอหาดใหญ่และเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองยะลา

อำเภอเมืองยะลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยะลา ชาวบ้านที่สามารถพูดภาษามลายูได้ นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "นีบง" ซึ่งเป็นชื่อต้นไม้ประเภทหนึ่งที่เคยมีอยู่มากมายภายในตัวอำเภอเมืองยะล.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอเมืองยะลา · อำเภอเมืองยะลาและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดยะลา · จังหวัดยะลาและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดสงขลา · จังหวัดสงขลาและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดปัตตานี · จังหวัดปัตตานีและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ หรือ สนามบินหาดใหญ่ (IATA: HDY, ICAO: VTSS) ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 3 ถนนสนามบินพาณิชย์ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา 90110 บริหารงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาขน) โดยมีผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่ดูแล เป็นท่าอากาศยานที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประตูสำหรับชาวมุสลิมที่ต้องการไปแสวงบุญที่นครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ท่าอากาศยานหาดใหญ่มีเที่ยวบินมากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ รองจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ และ ท่าอากาศยานกระบี่ ตามลำดับ ปัจจุบันมีผู้โดยสารประมาณ 4,869,113 คน เที่ยวบิน 9,203 เที่ยวบินและสินค้าประมาณ 12,965 ตันใช้บริการท่าอากาศยานแห่งนี้ ทั้งนี้ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ มีความสามารถในการรองรับเที่ยวบินได้ 42 เที่ยวบิน/ชม.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและท่าอากาศยานหาดใหญ่ · ท่าอากาศยานหาดใหญ่และเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย · ประเทศมาเลเซียและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครยะลา

ทศบาลนครยะลา เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในประเทศไทย และ เป็นเทศบาลในจังหวัดยะล.

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเทศบาลนครยะลา · เทศบาลนครยะลาและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย มี 118 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 6.57% = 9 / (118 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »