โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 vs. แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

วามไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน.. แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ มี 22 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชินวัฒน์ หาบุญพาดพ.ศ. 2552กรุงเทพมหานครมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549วีระกานต์ มุสิกพงศ์สมยศ พฤกษาเกษมสุขสุรยุทธ์ จุลานนท์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอริสมันต์ พงศ์เรืองรององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยจักรภพ เพ็ญแขจตุพร พรหมพันธุ์ทักษิณ ชินวัตรณัฐวุฒิ ใสยเกื้อดี-สเตชัน (บริษัท)ประยุทธ์ จันทร์โอชาเหวง โตจิราการ10 เมษายน14 เมษายน26 มีนาคม

ชินวัฒน์ หาบุญพาด

นายชินวัฒน์ หาบุญพาด อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกสมาคมพิทักษ์ผลประโยชน์ผู้ขับรถแท็กซี่ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ขับรถแท็กซี่ ที่ชื่นชอบ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ผู้ก่อตั้งและผู้จัดรายการของสถานีวิทยุชุมชนคนแท็กซี่ เอฟเอ็ม 92.75 เมกกะเฮิร์ทซ์ และ เอฟเอ็ม 107.5 เมกกะเฮิร์ทซ์ และแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ รุ่นที่ 2.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และชินวัฒน์ หาบุญพาด · ชินวัฒน์ หาบุญพาดและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และพ.ศ. 2552 · พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · กรุงเทพมหานครและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ

นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ แกนนำและที่ปรึกษาแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย และอดีตอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญา นายมานิตย์ เกิดวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2481 จบการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ วุฒิเนติบัณฑิตไทย เคยดำรงตำแหน่งอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญา และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา ต่อมาในกรณีวิกฤตตุลาการในปี..

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ · มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · วีระกานต์ มุสิกพงศ์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ พฤกษาเกษมสุข

มยศ พฤกษาเกษมสุข (20 กันยายน พ.ศ. 2504 - ปัจจุบัน) เป็นนักกิจกรรมแรงงาน ประธานสหภาพพันธมิตรแรงงานประชาธิปไตย, แกนนำกลุ่ม 24 มิถุนาประชาธิปไตย, และบรรณาธิการบริหารนิตยสารวอยซ์ออฟทักษิณ สมยศจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีประวัติเคลื่อนไหวด้านแรงงานเรื่อยมา โดยเป็นคนคุมแรงงานออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องกับรัฐบาลในหลายครั้ง เคยเขียนบทความต่อต้านรัฐบาลทักษิณในเว็บไซต์ของ Thai NGO ชื่อบทความ "พฤติกรรมเผด็จการรัฐบาลทักษิณ" หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 สมยศได้รับเลือกให้เป็นแกนนำชุดที่ 2 ของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) นอกจากนี้เขายังเป็นประธานกลุ่ม 24 มิถุนา และเจ้าของนิตยสารและสำนักพิมพ์สยามปริทัศน์ อีกด้วย บล็อก Anti-Corruption Center อ้างว่าเขาคือ "ประดาบ" คอลัมนิสต์ออนไลน์ชื่อดังแห่งเว็บ ไฮ-ทักษิณ ภายในวันเดียวกันที่ เว็บไซต์ผู้จัดการได้นำเอาข่าวจากบล็อก Anti-Corruption Center มาเปิดเผยตัวตนของประดาบนั้นเอง ประดาบก็ได้ออกมาเขียนบทความ "ประดาบก็คือประดาบ" ตอบโต้ในเว็บไซต์ไฮ-ทักษิณ เพื่อปฏิเสธว่าเขาไม่ใช่สมยศ และยินดีจะเปิดเผยตัวตนเมื่อ วาระแห่งกาลอวสานของเผด็จการ.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และสมยศ พฤกษาเกษมสุข · สมยศ พฤกษาเกษมสุขและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และสุรยุทธ์ จุลานนท์ · สุรยุทธ์ จุลานนท์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง เป็น นักร้อง, นักการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขาเคยเข้าร่วมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเป็นอดีตแกนนำ นป.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง · อริสมันต์ พงศ์เรืองรองและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ชื่อย่อ: ขสมก; Bangkok Mass Transit Authority, BMTA) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พุทธศักราช 2519 (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม) มีหน้าที่จัดบริการรถโดยสารประจำทางเพื่อรับส่งประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 108 เส้นทาง มีจำนวนรถประจำทาง (bus) ทั้งสิ้น 3,509 คัน (สถิติเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2554) แบ่งเป็นรถธรรมดา 1,659 คัน รถปรับอากาศ 1,850 คัน และมีรถร่วมบริการโดยบริษัทเอกชน ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ จำนวน 4,016 คัน, รถประจำทางขนาดเล็ก (mini bus) แบ่งเป็นส่วนที่ให้บริการบนถนนสายหลัก จำนวน 844 คัน และที่ให้บริการภายในซอยย่อย จำนวน 2,312 คัน, รถตู้โดยสารปรับอากาศ แบ่งเป็นส่วนที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงหรือแก๊สปิโตรเลียมเหลว จำนวน 5,315 คัน และที่ใช้แก๊สธรรมชาติอัด จำนวน 213 คัน รวมทั้งสิ้น 16,209 คัน 495 เส้นทาง นอกจากนี้ ยังเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ซึ่งมีผลการดำเนินงาน ขาดทุนมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากการรถไฟแห่งประเทศไทย คือขาดทุนเป็นเงิน 4,990 ล้านบาท.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ · องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นผลงานการออกแบบของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล อันเป็นแบบที่ชนะการประกวดการออกแบบอนุสาวรีย์แห่งนี้ การออกแบบได้นำสถาปัตยกรรมแบบไทยมาผสมผสาน ตรงกลางเป็นสมุดไทยที่สื่อถึงรัฐธรรมนูญประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า นอกจากการเป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกถึงประชาธิปไตยนั้น อนุสาวรีย์แห่งนี้ ยังเป็นหลักกิโลเมตรที่ศูนย์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยได้ใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง อาทิ การชุมนุมของประชาชนและนักศึกษาใน เหตุการณ์ 14 ตุลา, การชุมนุมของประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553, การชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ พ.ศ. 2556 เป็นต้น.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย · อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และจักรภพ เพ็ญแข · จักรภพ เพ็ญแขและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และจตุพร พรหมพันธุ์ · จตุพร พรหมพันธุ์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และทักษิณ ชินวัตร · ทักษิณ ชินวัตรและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ดี-สเตชัน (บริษัท)

ริษัท ดี-สเตชัน จำกัด เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจสื่อสารมวลชน ประเภทสถานีโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม ภายใต้ชื่อ สถานีประชาธิปไตย (19 มกราคม-13 เมษายน พ.ศ. 2552) และ สถานีประชาชน (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ก่อตั้งโดย รศ.พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ด้วยทุนประเดิมจำนวน 5,000,000 บาท.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และดี-สเตชัน (บริษัท) · ดี-สเตชัน (บริษัท)และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ประยุทธ์ จันทร์โอชาและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และเหวง โตจิราการ · เหวง โตจิราการและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

10 เมษายนและความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · 10 เมษายนและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

14 เมษายนและความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · 14 เมษายนและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

26 มีนาคมและความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · 26 มีนาคมและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 มี 79 ความสัมพันธ์ขณะที่ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ มี 147 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 22, ดัชนี Jaccard คือ 9.73% = 22 / (79 + 147)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »