โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก vs. แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด

10.1126/science.1177265 ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก (global catastrophic risk) เป็นเหตุการณ์สมมุติในอนาคต ที่อาจทำความเสียหายต่อมนุษย์อย่างรุนแรงทั่วโลก เหตุการณ์บางอย่างอาจทำลาย หรือทำความเสียหายแก่ อารยธรรมที่มีในปัจจุบัน หรือเหตุการณ์ที่รุนแรงกว่านั้น อาจทำให้มวลมนุษย์สูญพันธุ์ ซึ่งเรียกได้ว่า เป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของมนุษย์ (existential risk) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ และการวิ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อย จะเป็นความเสี่ยงในระดับนี้ถ้ารุนแรงเพียงพอ เหตุการณ์ที่มนุษย์เป็นเหตุ ก็อาจจะเป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของสัตว์ฉลาดต่าง ๆ ของโลก เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน สงครามนิวเคลียร์ หรือการก่อการร้ายชีวภาพ สถาบันอนาคตของมนุษยชาติ (Future of Humanity Institute) ที่เป็นส่วนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เชื่อว่า การสูญพันธุ์ของมนุษย์ น่าจะมีเหตุมาจากมนุษย์เอง มากกว่าจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ แต่ว่า เป็นเรื่องยากลำบากที่จะศึกษาการสูญพันธุ์ของมนุษย์ เพราะไม่เคยมีเหตุการณ์นี้จริง ๆ แม้นี่จะไม่ได้หมายความว่า จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ว่า การสร้างแบบจำลองของความเสี่ยงต่อความอยู่รอด เป็นเรื่องยาก โดยส่วนหนึ่งเพราะผู้ศึกษามีความเอนเอียงจากการอยู่รอด คือมีความคิดผิดพลาดที่พุ่งความสนใจไปในสิ่งที่อยู่รอด จนทำให้เหตุผลไม่ตรงกับความจริง. แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดถ่ายจากดาวเทียม แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (Caldera) เป็นแอ่งภูเขาไฟที่มีขอบแอ่งเอียงชันลาดลงสู่ก้นแอ่ง อาจมีหรือไม่มีกรวยภูเขาไฟขนาดต่างๆ โผล่อยู่ที่ก้นแอ่งก็ได้ แอ่งภูเขาไฟแบบนี้เกิดขึ้นจากการระเบิดอย่างรุนแรงและฉับพลันในส่วนลึกลงไปของภูเขาไฟ โดยมีพลังระเบิดมากพอที่จะผลักดันส่วนบนให้กระจัดกระจายออกไปรอบทิศทาง ทำให้ปริมาณหินมหาศาลเคลื่อนย้าย เกิดเป็นรอยรูปกระจาดขึ้น หลังจากนั้น การระเบิดย่อยๆ หรือการหลั่งไหลของลาวาขึ้นสู่ผิวพื้นก้นกระจาด ก็อาจทำให้เกิดกรวดภูเขาไฟย่อยๆ หรือใหญ่ๆ ขึ้นท่ามกลางแอ่งก้นกระจาดอีกต่อหนึ่ง ตัวอย่างภูมิประเทศแบบนี้เห็นได้ชัดที่ หมู่เกาะกรากะตัว ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟตาอาล ใกล้เมืองมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และที่ภูเขาไฟวิสุเวียส ในประเทศอิตาลี ในประเทศไทยนั้น มีตัวอย่างที่เข้าใจว่าเป็นแอ่งภูเขาไฟเล็กๆ แบบนี้ที่เขาหลวง อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย อันเป็นภูเขาไฟที่สงบแล้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภูเขาไฟอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนประเทศอินโดนีเซีย

ภูเขาไฟ

ูเขาไฟโบรโมและภูเขาไฟสิเมรุบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ (Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology).

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและภูเขาไฟ · ภูเขาไฟและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน

อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน (Yellowstone National Park) เป็นอุทยานแห่งแรกของโลกและของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในเขตติดต่อ 3 รัฐได้แก่ ไวโอมิง มอนแทนา และไอดาโฮ แต่พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในรัฐไวโอมิง เป็นอุทยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐ มีเนื้อที่มากกว่า 2 ล้านเอเคอร์ คือประมาณ 43,750 ตารางไมล์ หรือ 8,992 ตารางกิโลเมตร ภายในอุทยานประกอบไปด้วยที่ราบสูงและภูเขาสูงมีหน้าผาชัน และทะเลสาบ เยลโลว์สโตนเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีบ่อน้ำร้อน และน้ำพุร้อน มากกว่า 10,000 แห่ง และ 250 แห่งเป็นบ่อน้ำพุร้อน (เป็นแมกมาใต้ดินที่พุ่งออกมา) และน้ำพุร้อนที่สำคัญคือ น้ำพุร้อนโอลด์เฟทฟุล ซึ่งมีน้ำพุร้อนพุ่งออกมาทุกๆ 33 และ 93 นาที โดยไม่เปลี่ยนแปลงเลยตลอดระยะเวลา 100 ปีที่ผ่านมา ยังมีน้ำตกอีกกว่า 300 แห่ง ที่สามารถค้นพบและท่องเที่ยวได้อีกมากมาย สัตว์ป่าที่น่าสนใจในอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน ได้แก่หมีกริซลี หมีดำ ควายป่าไบซัน กวางมูส กวางเอลก์ แพะภูเขาบิกฮอร์น แมวป่า หมาป.

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน · อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและประเทศอินโดนีเซีย · ประเทศอินโดนีเซียและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก มี 183 ความสัมพันธ์ขณะที่ แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.55% = 3 / (183 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกและแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »