ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน
ความเจ็บปวด vs. แรนิทิดีน
วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว. แรนิติดีน (อังกฤษ:Ranitidine) เป็นฮีสตามีน H2-รีเซพเตอร์ แอนตาโกนิสต์ ที่ยับยั้งการผลิตดรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการแกซโตรอีโซฟาเจียล รีฟลัก (GERD) และ แผลในกระเพาะอาหาร (PUD) ยาตัวนี้ผลิตและจำหน่ายโดยแกลกโซสมิทไคลน์ (GlaxoSmithKline) มีชื่อาทงการค้าว่าแซนแทก®, (Zantac®).
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน
ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน
การเปรียบเทียบระหว่าง ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน
ความเจ็บปวด มี 213 ความสัมพันธ์ขณะที่ แรนิทิดีน มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (213 + 10)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเจ็บปวดและแรนิทิดีน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: