โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความหนืดและผลิกศาสตร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความหนืดและผลิกศาสตร์

ความหนืด vs. ผลิกศาสตร์

วามหนืด คือค่าบ่งชี้คุณสมบัติความต้านทานการไหลในตัวของไหล ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนรูปจากการกระทำของความเค้นเฉือนหรือความเค้นภายนอก ความหนืดนี้อธิบายถึงความสามารถในการต้านทานการไหลภายในตัวของไหล และอาจจะถูกพิจารณาให้เป็นตัวชี้วัดความเสียดทานของไหลได้ ยิ่งของไหลมีความหนืดต่ำมากเท่าไร มันก็จะยิ่งมีความสามรถในการเปลี่ยนรูปได้มากเท่านั้นสำหรับคำเรียกใช้โดยทั่วไป อาจจะใช้คำว่า "ความหนา" ตัวอย่างเช่น น้ำ ที่มีความหนืดต่ำอาจจะถูกเรียกว่า "บาง" ในขณะที่น้ำผึ้งซึ่งมีความหนืดสูงนั้นอาจจะถูกเรียกว่า "หนา" สำหรับของไหลในความเป็นจริงนั้น (ยกเว้น ซูเปอร์ฟลูอิด) จะมีค่าความหนืดในตัว แต่อย่างไรก็ตาม ในทางอุดมคติ ของไหลอาจจะถุกสมมติให้ไร้ความหนืด เรียกว่า ของไหลในอุดมคติ หรือ ของไหลไร้ความหนืด สำหรับวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับของไหลคือ วิทยาศาสตร์การไหล ภาพประกอบอธิบายความหนืด ของเหลวสีเขียวทางซ้ายมีความหนืดสูงกว่าของเหลวใสทางขว. ผลิกศาสตร์ (Crystallography) คือศาสตร์ที่ศึกษาการเรียงตัวของอะตอมในของแข็ง คำนี้ในการใช้งานเดิมจะหมายถึงศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลึก คำว่า ผลิก มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า ผลึก ก่อนที่จะมีพัฒนาการของผลิกศาสตร์ที่ใช้การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ การศึกษาผลึกกระทำโดยใช้เรขาคณิตของผลึก โดยจะมีการวัดมุมของผลึกเทียบกับมุมอ้างอิงทางทฤษฎี และหาสมมาตรของผลึกนั้น ๆ ในปัจจุบันผลิกศาสตร์ใช้การวิเคราะห์รูปแบบของการเลี้ยวเบนที่เกิดจากการยิงลำแสงบางอย่างให้กับผลึกนั้น แม้ว่าลำแสงที่ใช้ไม่จำเป็นต้องเป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ตัวเลือกหลักมักเป็นรังสีเอ็กซ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความหนืดและผลิกศาสตร์

ความหนืดและผลิกศาสตร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความหนืดและผลิกศาสตร์

ความหนืด มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ ผลิกศาสตร์ มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความหนืดและผลิกศาสตร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »