โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความส่องสว่างปรากฏและสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ความส่องสว่างปรากฏและสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์

ความส่องสว่างปรากฏ vs. สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์

วามส่องสว่างปรากฏ (apparent magnitude, m) เป็นหน่วยวัดความสว่างของดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ หรือวัตถุท้องฟ้าอื่นในจักรวาล กล่าวอีกนัยหนึ่งคือปริมาณแสดงที่ได้รับจากวัตถุนั้น นิยามให้ความส่องสว่างปรากฏมีค่าเพิ่มขึ้น 5 หน่วยเมื่อความสว่างลดลงเหลือ 1 ใน 100 (นั่นคือเมื่อวัตถุเดียวกันแต่อยู่ไกลขึ้นเป็น 10 เท่า) หรือค่าความส่องสว่างปรากฏเพิ่มขึ้น 1 หน่วยเมื่อความสว่างลดลง 2.512 เท่า โดยที่ 2.512 คือรากที่ห้าของ 100 (1000.2) ปริมาณแสงที่รับได้ จริง ๆ แล้วจะขึ้นอยู่กับความหนาของชั้นบรรยากาศในทิศทางการมองวัตถุ ดังนั้นความส่องสว่างปรากฏจึงปรับค่าให้ได้ความสว่างเมื่อผู้สังเกตอยู่นอกชั้นบรรยากาศ ยิ่งวัตถุมีแสงจางเท่าไหร่ค่าความส่องสว่างปรากฏก็ยิ่งมีค่ามากเท่านั้น. ปกโตรสโคปดาวของ หอดูดาวลิก ในปี ค.ศ. 1898 ออกแบบโดย James Keeler และสร้างขึ้นโดย John Brashear สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ (Astronomical spectroscopy) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับดาราศาสตร์ โดยใช้เทคนิคสเปกโทรสโกปี ในการวัดสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า,รวมทั้งแสงที่มองเห็นได้และคลื่นวิทยุ,ซึ่งแผ่กระจายจากดาว และวัตถุท้องฟ้าร้อนอื่น ๆ สเปกโทรสโกปี สามารถนำมาใช้เพื่อหาคุณสมบัติหลายอย่างของดาวและกาแลคซีที่ห่างไกล เช่น องค์ประกอบทางเคมี,อุณหภูมิ,ความหนาแน่น,มวลระยะทาง,ความส่องสว่าง และการเคลื่อนไหวสัมพัทธ์โดยใช้การวัดปรากฏการณ์ดอปเพลอร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ความส่องสว่างปรากฏและสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์

ความส่องสว่างปรากฏและสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ความส่องสว่างปรากฏและสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์

ความส่องสว่างปรากฏ มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ สเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (15 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความส่องสว่างปรากฏและสเปกโทรสโกปีทางดาราศาสตร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »